แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕ จิรวัฒน์ ศานติสุข กลุ่มแผนงานและประเมินผล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อยืนยันรับรองผล (Accredit) อำเภอที่ผ่านเกณฑ์

ผู้รับการประเมิน ระดับจังหวัด งานแผนงาน งานระบาด งานควบคุมโรค ระดับอำเภอ กรรมการควบคุมโรคอำเภอ ผู้ดูแลระบบการเฝ้าระวังฯ ผู้ดูแลจัดทำแผนงานโครงการ ระดับตำบล รพ.สต. อปท. ระดับชุมชน อสม

ผู้ประเมิน มี ๒ ระดับ การประเมินยืนยัน การประเมินรับรองผล(Accredit) ทีมงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การประเมินรับรองผล(Accredit) ทีมประเมินสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา

บทบาทของผู้ประเมิน ระดับจังหวัด ทีมงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของอำเภอ วิเคราะห์ภาพรวมของคุณลักษณะ ๕ ด้าน พัฒนาอำเภอที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ แจ้งผลการประเมินอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

บทบาทของผู้ประสานจังหวัด/ผู้ประเมินระดับเขต ทีมงานสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของอำเภอ ร่วมกับทีมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัฒนาอำเภอ ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ประเมินอำเภอที่ผ่านเกณฑ์เพื่อรับรองผล (Accredit)

ทีมประเมินของ สคร.๑๒ ประกอบด้วย ๓ ทีม ทีมที่ ๑ ประเมินคุณลักษณะ ด้านที่ ๑,๓และ๔ มิ.ย.-ก.ค.๕๕ ทีมที่ ๒ ประเมินคุณลักษณะ ด้านที่ ๒ มิ.ย.-ก.ค.๕๕ ทีมที่ ๓ ประเมินคุณลักษณะด้านที่ ๕ ตาม Template ตัวชี้วัดรายโรคที่อำเภอเลือก

เป้าหมายการผ่านเกณฑ์ มีคะแนนการประเมินตนเองตามคุณลักษณะ ๕ ด้านอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมิน อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ จังหวัด จำนวนอำเภอ เป้าหมายการผ่านเกณฑ์ พัทลุง ๑๑ ๗ ตรัง ๑๐ ๖ สงขลา ๑๖ สตูล ๕ ปัตตานี ๑๒ ๘ ยะลา นราธิวาส ๑๓ รวมทั้งสิ้น ๗๗ ๔๙

เป้าหมายการรับรองผล (Accredit) ร้อยละ 25 ของอำเภอในเขตรับผิดชอบ จังหวัด จำนวนอำเภอ เป้าหมายการรับรองผล (อำเภอ) พัทลุง ๑๑ ๓ ตรัง ๑๐ สงขลา ๑๖ ๔ สตูล ๗ ๒ ปัตตานี ๑๒ ยะลา ๘ นราธิวาส ๑๓ รวมทั้งสิ้น ๗๗ ๒๑

ประเมินตนเอง (self assessment) Key in ผ่านเวบไซด์ www.kmddc.go.th ผังการประเมินรับรอง กรมควบคุมโรค ๑ ส.ค. ๕๕ สคร. ประเมินรับรอง มิ.ย.-ก.ค. ๕๕ แจ้งผลประเมิน ๑๕ พ.ค. ๕๕ พัฒนา จังหวัด ประเมินยืนยัน ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน < 80%) ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80%) อำเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) Key in ผ่านเวบไซด์ www.kmddc.go.th มี.ค. ๕๕

เครื่องมือการประเมิน แบบประเมินตนเองอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี ๒๕๕๕

การประเมินระดับจังหวัด ตัวชี้วัด๗๒ ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ตามองค์ประกอบ ๕ ด้าน ดังนี้ นำข้อมูลทางระบาดวิทยาของโรคและภัยสุขภาพมาประเมินสถานการณ์ รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น มากำหนดเป้าหมาย วางแผนและปฏิบัติการร่วมกันในการพัฒนาให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ระหว่างหน่วยงานภายในจังหวัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก/องค์กรอื่น จังหวัดมีกลไกการสนับสนุนให้อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

การประเมินระดับจังหวัด (ต่อ) ๓. จังหวัดมีระบบการติดตามความก้าวหน้า และผลสำเร็จ พร้อมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาให้เกิด"อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน" ๔. จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังโรค สอบสวน และการปัองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ๕. อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามเป้าหมาย

วิธีดำเนินการ จังหวัดทำ Self Assessment ตามองค์ประกอบของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เข้าเว็บไซด์ http://healthdata.moph.go.th/kpi/ เป้าหมายการผ่านเกณฑ์ ต้องได้คะแนนรวม ไม่ต่ำกว่า 4.60 คะแนน

สวัสดีค่ะ