นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
หลักเกณฑ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
ขั้นตอนการจัดหาโดยการรับบริจาคของหน่วยงานกรมประมง
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์ Competency
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้ความเห็นชอบรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน ประกาศราชกิจจานุเบกษา.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การดำเนินการตามภารกิจ การให้บริการจัดหางานในประเทศ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกฝัง จิตสำนึก สร้างความตระหนักด้านการ.
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
รายงานการประเมินตนเอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์ นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์ นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงานชำนาญการ กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ โทรศัพท์: 02-2454406 1

ตัวชี้วัด : 3.2 น้ำหนัก : ร้อยละ 4.0 (สำหรับ สถาบันฯ) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินตามโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทย ให้มีศักยภาพสูงขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการเทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.2556 น้ำหนัก : ร้อยละ 4.0 (สำหรับ สถาบันฯ) ร้อยละ 5.0 (สำหรับ ศูนย์ฯ) 2

คำอธิบาย 1.พิจารณาจากจำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ เทียบกับ เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.2556 2. กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายผลผลิตที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 3

วิธีการประเมินผล ตัวชี้วัดที่ 3.2.1 ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 4 หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงาน การประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เนื่องจากการประเมิน คะแนนตัวชี้วัดนี้ จะใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ( http://datacenter.dsd.go.th) โดยแบ่งออกเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย คือ ตัวชี้วัดที่ 3.2.1 ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 4

ตัวชี้วัด : 3.2.1 ร้อยละของแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการเทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ. 2556 น้ำหนัก : ร้อยละ 2.0 (สำหรับ สถาบัน ฯ) ร้อยละ 2.5 (สำหรับ ศูนย์ ฯ) 5

คำอธิบาย 1. พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินการโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทย ให้มีศักยภาพสูงขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ 2.กรณีหน่วยงานเปลี่ยนแปลงเป้าหมายผลผลิตที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมฯ 6

สูตรคำนวณ จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ X 100 เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการตามงบประมาณ พ.ศ.2556 7

เกณฑ์การให้คะแนน 8 กำหนดช่วงการให้คะแนน + ร้อยละ X ต่อ 5 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 80 85 90 95 100 8

ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 ร้อยละของจำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ น้ำหนัก ร้อยละ 2.0 (สำหรับสถาบันฯ) ร้อยละ 2.5 (สำหรับศูนย์ฯ) 9

คำอธิบาย พิจารณาจากจำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ เทียบกับ จำนวนแรงงานผู้เข้ารับการพัฒนาตามโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ 10

สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ X 100 จำนวนแรงงานผู้เข้ารับการพัฒนาตามโครงการยกระดับผลิตภาพแรงงานไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการ 11

เกณฑ์การให้คะแนน 12 กำหนดช่วงการให้คะแนน + ร้อยละ X ต่อ 5 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 70 75 80 85 90 12

เหตุผล 1. เพื่อปรับพฤติกรรมการทำงานของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ โดยการฝึกอบรมยกระดับผลิตแรงงานให้มีความรู้ ทักษะฝีมือ ทักษะภาษา และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนปลูกฝังคุณลักษณะและทัศนคติให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 13

2. เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการแข่งขันของสถานประกอบการ SMEs โดยการฝึกอบรมผู้ประกอบการและลูกจ้างในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อปรับพฤติกรรมการทำงานของแรงงานนอกระบบ แรงงานในภาคเกษตรกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม (เกษตรแปรรูป) โดยการฝึกอบรมให้มีทักษะฝีมือ ทักษะภาษาและทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น ตลอดจนปลูกฝังคุณลักษณะและทัศนคติให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 14

ขอบคุณค่ะ 15