กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR)
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
ขับเคลื่อนนโยบาย ประการ
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์

เป้าประสงค์ 1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา วิสัยทัศน์ “ พัฒนากำลังแรงงานด้านยานยนต์ไทยให้มีมาตรฐานสมรรถนะในระดับโลก ” พันธกิจที่ 1 เพิ่มผลิตภาพและพัฒนากำลังแรงงานไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์ พันธกิจที่ 2 บูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์อย่างเป็นเอกภาพและให้เพียงพอ พันธกิจที่ 3 พัฒนาฐานข้อมูลและสร้างเครือข่ายพัฒนาแรงงานรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม พันธกิจที่ 4 พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และกำลังแรงงานรองรับ AEC และการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกในอนาคต เป้าประสงค์ 1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา เป้าประสงค์ 3. เพื่อพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน ยกระดับสมรรถนะแรงงานไทย เป้าประสงค์ 4. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เป้าประสงค์ 2. สร้างเครือข่ายพัฒนาแรงงาน ภาครัฐ เอกชน กลุ่มยานยนต์อย่างเป็นระบบ เป้าประสงค์ 5 สร้างสถาบันพัฒนาบุคลากร (HRD) ยานยนต์เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านต่างๆ ยุทธศาสตร์ 1 ผลิตและพัฒนากำลัง แรงงานให้มีสมรรถนะ ในระดับมาตรฐาน สากล ยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาเครือข่าย เพื่อบูรณาการการผลิต และพัฒนากำลัง แรงงานให้เพียงพอ ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนามาตรฐาน วิชาชีพ มาตรฐาน ฝีมือแรงงานและ มาตรฐานสมรรถนะ ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อตลาด แรงงานและความ ต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน ยุทธศาสตร์ 5 พัฒนาระบบพัฒนา กำลังคนเพื่อรองรับ AECและรองรับการ แข่งขันในเวทีโลก

กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ พัฒนาระบบบริหารจัดการ การพัฒนากำลังคน สร้างสถาบันพัฒนาบุคลากรยานยนต์ HR ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรระดับสูง ผู้เชี่ยชาญ นักวิจัย ยุทธศาสตร์ 5 พัฒนาระบบพัฒนากำลังคน รองรับ AEC และการแข่งขันในตลาดโลก ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน/ มาตรฐานสมรรถนะ พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐานสมรรถนะเพื่อยกระดับฝีมือแรงงานไทยและเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ ให้แก่ลูกจ้าง และเพิ่มผลผลิตให้แก่ผู้ประกอบการ การพัฒนา กำลังแรงงาน ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อตลาด แรงงานและความ ต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน 1) สร้างเครือข่ายการ ผลิตและพัฒนา แรงงาน ภาครัฐ เอกชน กลุ่มยานยนต์ 2)พัฒนาและยกระดับ เครือข่ายพัฒนา แรงงาน เพื่อรองรับ การขยายตัวของ อุตสาหกรรม 3)จัดทำแผนพัฒนา เครือข่ายในระยะยาว 4)ประเมินผลการ พัฒนากำลังแรงงาน ในพื้นที่ เชิงปริมาณ/ คุณภาพ ยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาเครือข่าย เพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อม ต่อตลาด แรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานเพื่อใช้ประกอบเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการผลิตและพัฒนาฝีมือแรงงาน ยุทธศาสตร์ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล พัฒนาทรัพย์กรมนุษย์ในและนอกระบบการศึกษา กำลังแรงงานใน ตลาด แรงงาน เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ตามกลุ่มเป้าหมายหลัก 1)กลุ่มผู้ประกอบยานยนต์ 2)กลุ่มชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ 3)กลุ่มศูนย์บริการซ่อมบำรุง

ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 1: การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (Demand side) โครงการ/กิจกรรม 17 โครงการ 1 กิจกรรม กลยุทธ์ที่ 2: กลยุทธ์การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน 3 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาเครือข่ายเพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานใหเพียงพอ กลยุทธ์ที่ : การพัฒนาเครือข่ายพัฒนากำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ยุทธศาสตร์ที่ 3: พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน 3 โครงการ 1 กิจกรรม ระบบรับรองความสามารถตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน และระบบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ

ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อตลาดแรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน กลยุทธ์ที่ : พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน และ เครือข่ายพัฒนากำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และเครือข่ายอื่นๆ โครงการ/กิจกรรม 6 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาระบบพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับ AEC และรองรับการแข่งขันในเวทีโลก การสร้างองค์กรพัฒนาทรัพยากรมนุษย์บุคลากรระดับสูงในกลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ 2 โครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โครงการ: ด้านการพัฒนาหลักสูตรด้านยานยนต์ให้มีความทันสมัย โครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานระดับสูง โครงการจัดทำหลักสูตรสนทนาภาษาอังกฤษในโรงงานสาขายานยนต์ โครงการพัฒนาสื่อการฝึกด้านยานยนต์ ภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน ไว้ ในฐานข้อมูลเครือข่ายพัฒนาแรงงาน ด้านยานยนต์ โครงการ: ด้านยกระดับฝีมือแรงงาน โครงการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานระดับสูง High - Multi skill ในสถาน ประกอบกิจการ โครงการฝึกอบรม ความรู้ด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมยานยนต์สมัยใหม่ โครงการฝึกยกระดับด้านสนทนาภาษา โครงการฝึกอบรม 9 พฤติกรรม 9 ความสำเร็จ ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน โครงการ: ด้านการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการให้เป็นบุคลากรผู้ชำนาญงานและผู้เชี่ยวชาญโดยระบบรับรองความสามารถ โครงการฝึกยกระดับผู้ปฏิบัติงานในโรงงาน ให้ได้มาตรฐานฝีมือแรงงาน เทียบเท่าช่างเทคนิคระดับสูง โครงการฝึกยกระดับหัวหน้าช่างในโรงงาน ให้ได้มาตรฐานฝีมือแรงงาน เทียบเท่าผู้เชี่ยวชาญ โครงการฝึกยกระดับหัวหน้าช่างในโรงงาน ให้เป็นผู้ถ่ายทอด (Training the Trainer)

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (ต่อ) โครงการ: ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาคการศึกษา โครงการจัดทำแผนการพัฒนาการผลิตทรัพยากรมนุษย์ภาคการศึกษา โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับ ปวช. โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับ ปวส. โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับอุดมศึกษา โครงการประชาสัมพันธ์ จูงใจให้แรงงานหญิง ผู้ว่างงาน เข้าสู่ระบบการ พัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพเป็นช่างเทคนิคด้านยานยนต์ โครงการพัฒนาหลักสูตร และสื่อการสอน ด้านยานยนต์และเทคโนโลยี ชั้นสูง ภาษาไทย/อังกฤษ /อาเซียน โครงการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อการเทียบโอนประสบการณ์ กิจกรรม: จัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานจาก ผู้ประกอบการกลุ่ม ยานยนต์ ลูกจ้าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อเสนอแนะเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช.) (ดำเนินการแล้ว) ผู้รับผิดชอบหลัก : กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน, กระทรวงศึกษาธิการ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 2. กลยุทธ์การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน โครงการ: โครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์สู่ความยั่งยืน (โดย สำนัก เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) โครงการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรด้านบริหารจัดการ หัวหน้างาน ด้วย หลักสูตรการพัฒนาและปรับปรุงงาน โครงการจัดทำโครงการวิเคราะห์และพัฒนา 7 องค์ประกอบ SQCDME ของ การเพิ่มผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ ด้านยานยนต์ เพื่อใช้เป็น แนวทางการเพิ่มผลิตภาพให้ภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานอื่นๆ (S = Safety Q= Quality C = Cost D = Delivery M = Management E= Engineer ) ผู้รับผิดชอบหลัก : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และกระทรวงอุตสาหกรรม

กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาเครือข่ายเพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้เพียงพอ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม การพัฒนาเครือข่ายพัฒนา กำลังแรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการ: โครงการสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการพื้นที่ โครงการการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย โครงการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของเครือข่ายสถาน ประกอบกิจการ โรงงาน SME ผู้รับผิดชอบหลัก : สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ผู้ประกอบการยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ศูนย์บำรุงรักษารถยนต์ สมาคมวิชาชีพด้านยานยนต์ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด แรงงานจังหวัด กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมการจัดหางาน หน่วยงาน สถาบัน ฝึกอบรม ฝึกอาชีพ ภาคเอกชนและภาครัฐ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน โครงการ: โครงการพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์ โครงการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ โครงการปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตรของภาคการศึกษาและหลักสูตรการ พัฒนาฝีมือแรงงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือ แรงงานในภาพรวมของประเทศ 1. การพัฒนามาตรฐาน วิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือ แรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ ให้ สอดคล้องกับความ ต้องการของนายจ้างและ ตลาดแรงงาน กิจกรรม: จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาหลักสูตรด้านชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์เฉพาะทาง ให้ สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและลูกจ้าง ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สมาคมวิชาชีพ/สถาบันยานยนต์/ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 2. ระบบรับรองความสามารถตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน และระบบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ โครงการ: โครงการจัดทำระบบรับรองมาตรฐานสมรรถนะ ในอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการจัดทำระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการพัฒนาระบบรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ ในอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สมาคมวิชาชีพ/สถาบันยานยนต์/ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อตลาดแรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อ เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ข้อมูลความต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน และ เครือข่ายพัฒนากำลัง แรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์และ เครือข่ายอื่นๆ โครงการ: โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือ แรงงานของนายจ้าง ลูกจ้าง โครงการรวบรวมข้อมูลหลักสูตรการฝึกอบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานของ หน่วยงานต่างๆ ประจำปี โครงการพัฒนาระบบข้อมูลมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงาน หลักสูตรการศึกษาและการพัฒนาแรงงาน โครงการรวบรวมปริมาณแรงงานและติดตามประเมินผล ผู้ที่เข้ารับการเพิ่ม ทักษะ ฝีมือ สมรรถนะ ตำแหน่งงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการพัฒนารูปแบบซอฟต์แวร์การแจ้งข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะ แรงงาน ผ่านระบบ Manual และ IT โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ผ่านการฝึก และทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ผู้รับผิดชอบหลัก : กระทรวงศึกษาธิการ อาชีวศึกษา อุดมศึกษา สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานสถิติแห่งชาติ สภา/สมาคมวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค หน่วยฝึกภาครัฐและ เอกชนอื่นๆ

กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับ AEC และรองรับการแข่งขันในเวทีโลก กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม การสร้างองค์กรพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ บุคลากร ระดับสูงในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการ: โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งองค์กรพัฒนาทรัพยากรบุคคลากรระดับสูงในอุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการพัฒนาและยกระดับศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้านยานยนต์ระดับสูงในสถานศึกษาและหน่วยงานพัฒนาฝีมือแรงงานใน 6 จังหวัดภาคตะวันออกและภาคกลาง ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมวิชาชีพ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม สถาบันยานยนต์ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หน่วยงานฝึกอบรมภาคเอกชนและภาครัฐ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน

การดำเนินงานในระยะต่อไป จัดทำ Roadmap (ร่าง) แผนงานการพัฒนากำลังแรงงาน ในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ.2556-2563 - แผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว แบ่งเป็น 1)งานประจำของหน่วยงาน 2)งานที่ต้องทำใหม่ 1.แผนงานด้านการพัฒนากำลังคน/แรงงาน 2.แผนงานด้านการสร้างเครือข่าย 3.แผนงานด้านมาตรฐานฝีมือแรงงาน 4.แผนงานด้านการจัดทำระบบฐานข้อมูล 5.แผนงานด้านองค์กร HRD - จัดทำกรอบวงเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์ - ตัวชี้วัด การติดตามประเมินผล