กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์
เป้าประสงค์ 1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา วิสัยทัศน์ “ พัฒนากำลังแรงงานด้านยานยนต์ไทยให้มีมาตรฐานสมรรถนะในระดับโลก ” พันธกิจที่ 1 เพิ่มผลิตภาพและพัฒนากำลังแรงงานไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์ พันธกิจที่ 2 บูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์อย่างเป็นเอกภาพและให้เพียงพอ พันธกิจที่ 3 พัฒนาฐานข้อมูลและสร้างเครือข่ายพัฒนาแรงงานรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม พันธกิจที่ 4 พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และกำลังแรงงานรองรับ AEC และการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกในอนาคต เป้าประสงค์ 1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา เป้าประสงค์ 3. เพื่อพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน ยกระดับสมรรถนะแรงงานไทย เป้าประสงค์ 4. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เป้าประสงค์ 2. สร้างเครือข่ายพัฒนาแรงงาน ภาครัฐ เอกชน กลุ่มยานยนต์อย่างเป็นระบบ เป้าประสงค์ 5 สร้างสถาบันพัฒนาบุคลากร (HRD) ยานยนต์เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านต่างๆ ยุทธศาสตร์ 1 ผลิตและพัฒนากำลัง แรงงานให้มีสมรรถนะ ในระดับมาตรฐาน สากล ยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาเครือข่าย เพื่อบูรณาการการผลิต และพัฒนากำลัง แรงงานให้เพียงพอ ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนามาตรฐาน วิชาชีพ มาตรฐาน ฝีมือแรงงานและ มาตรฐานสมรรถนะ ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อตลาด แรงงานและความ ต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน ยุทธศาสตร์ 5 พัฒนาระบบพัฒนา กำลังคนเพื่อรองรับ AECและรองรับการ แข่งขันในเวทีโลก
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ พัฒนาระบบบริหารจัดการ การพัฒนากำลังคน สร้างสถาบันพัฒนาบุคลากรยานยนต์ HR ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรระดับสูง ผู้เชี่ยชาญ นักวิจัย ยุทธศาสตร์ 5 พัฒนาระบบพัฒนากำลังคน รองรับ AEC และการแข่งขันในตลาดโลก ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน/ มาตรฐานสมรรถนะ พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐานสมรรถนะเพื่อยกระดับฝีมือแรงงานไทยและเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ ให้แก่ลูกจ้าง และเพิ่มผลผลิตให้แก่ผู้ประกอบการ การพัฒนา กำลังแรงงาน ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อตลาด แรงงานและความ ต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน 1) สร้างเครือข่ายการ ผลิตและพัฒนา แรงงาน ภาครัฐ เอกชน กลุ่มยานยนต์ 2)พัฒนาและยกระดับ เครือข่ายพัฒนา แรงงาน เพื่อรองรับ การขยายตัวของ อุตสาหกรรม 3)จัดทำแผนพัฒนา เครือข่ายในระยะยาว 4)ประเมินผลการ พัฒนากำลังแรงงาน ในพื้นที่ เชิงปริมาณ/ คุณภาพ ยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาเครือข่าย เพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อม ต่อตลาด แรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานเพื่อใช้ประกอบเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการผลิตและพัฒนาฝีมือแรงงาน ยุทธศาสตร์ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล พัฒนาทรัพย์กรมนุษย์ในและนอกระบบการศึกษา กำลังแรงงานใน ตลาด แรงงาน เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ตามกลุ่มเป้าหมายหลัก 1)กลุ่มผู้ประกอบยานยนต์ 2)กลุ่มชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ 3)กลุ่มศูนย์บริการซ่อมบำรุง
ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 1: การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (Demand side) โครงการ/กิจกรรม 17 โครงการ 1 กิจกรรม กลยุทธ์ที่ 2: กลยุทธ์การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน 3 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาเครือข่ายเพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานใหเพียงพอ กลยุทธ์ที่ : การพัฒนาเครือข่ายพัฒนากำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ยุทธศาสตร์ที่ 3: พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน 3 โครงการ 1 กิจกรรม ระบบรับรองความสามารถตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน และระบบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อตลาดแรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน กลยุทธ์ที่ : พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน และ เครือข่ายพัฒนากำลังแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และเครือข่ายอื่นๆ โครงการ/กิจกรรม 6 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาระบบพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับ AEC และรองรับการแข่งขันในเวทีโลก การสร้างองค์กรพัฒนาทรัพยากรมนุษย์บุคลากรระดับสูงในกลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ 2 โครงการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โครงการ: ด้านการพัฒนาหลักสูตรด้านยานยนต์ให้มีความทันสมัย โครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานระดับสูง โครงการจัดทำหลักสูตรสนทนาภาษาอังกฤษในโรงงานสาขายานยนต์ โครงการพัฒนาสื่อการฝึกด้านยานยนต์ ภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน ไว้ ในฐานข้อมูลเครือข่ายพัฒนาแรงงาน ด้านยานยนต์ โครงการ: ด้านยกระดับฝีมือแรงงาน โครงการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานระดับสูง High - Multi skill ในสถาน ประกอบกิจการ โครงการฝึกอบรม ความรู้ด้านเทคโนโลยี นวัตกรรมยานยนต์สมัยใหม่ โครงการฝึกยกระดับด้านสนทนาภาษา โครงการฝึกอบรม 9 พฤติกรรม 9 ความสำเร็จ ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน โครงการ: ด้านการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการให้เป็นบุคลากรผู้ชำนาญงานและผู้เชี่ยวชาญโดยระบบรับรองความสามารถ โครงการฝึกยกระดับผู้ปฏิบัติงานในโรงงาน ให้ได้มาตรฐานฝีมือแรงงาน เทียบเท่าช่างเทคนิคระดับสูง โครงการฝึกยกระดับหัวหน้าช่างในโรงงาน ให้ได้มาตรฐานฝีมือแรงงาน เทียบเท่าผู้เชี่ยวชาญ โครงการฝึกยกระดับหัวหน้าช่างในโรงงาน ให้เป็นผู้ถ่ายทอด (Training the Trainer)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (ต่อ) โครงการ: ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาคการศึกษา โครงการจัดทำแผนการพัฒนาการผลิตทรัพยากรมนุษย์ภาคการศึกษา โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับ ปวช. โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับ ปวส. โครงการเพิ่มทักษะความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้เรียน ระดับอุดมศึกษา โครงการประชาสัมพันธ์ จูงใจให้แรงงานหญิง ผู้ว่างงาน เข้าสู่ระบบการ พัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพเป็นช่างเทคนิคด้านยานยนต์ โครงการพัฒนาหลักสูตร และสื่อการสอน ด้านยานยนต์และเทคโนโลยี ชั้นสูง ภาษาไทย/อังกฤษ /อาเซียน โครงการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อการเทียบโอนประสบการณ์ กิจกรรม: จัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานจาก ผู้ประกอบการกลุ่ม ยานยนต์ ลูกจ้าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อเสนอแนะเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช.) (ดำเนินการแล้ว) ผู้รับผิดชอบหลัก : กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน, กระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้มีสมรรถนะในระดับมาตรฐานสากล (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 2. กลยุทธ์การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน โครงการ: โครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์สู่ความยั่งยืน (โดย สำนัก เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) โครงการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรด้านบริหารจัดการ หัวหน้างาน ด้วย หลักสูตรการพัฒนาและปรับปรุงงาน โครงการจัดทำโครงการวิเคราะห์และพัฒนา 7 องค์ประกอบ SQCDME ของ การเพิ่มผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ ด้านยานยนต์ เพื่อใช้เป็น แนวทางการเพิ่มผลิตภาพให้ภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานอื่นๆ (S = Safety Q= Quality C = Cost D = Delivery M = Management E= Engineer ) ผู้รับผิดชอบหลัก : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และกระทรวงอุตสาหกรรม
กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาเครือข่ายเพื่อบูรณาการการผลิตและพัฒนากำลังแรงงานให้เพียงพอ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม การพัฒนาเครือข่ายพัฒนา กำลังแรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการ: โครงการสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการพื้นที่ โครงการการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย โครงการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของเครือข่ายสถาน ประกอบกิจการ โรงงาน SME ผู้รับผิดชอบหลัก : สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ผู้ประกอบการยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ศูนย์บำรุงรักษารถยนต์ สมาคมวิชาชีพด้านยานยนต์ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด แรงงานจังหวัด กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมการจัดหางาน หน่วยงาน สถาบัน ฝึกอบรม ฝึกอาชีพ ภาคเอกชนและภาครัฐ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน โครงการ: โครงการพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์ โครงการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ โครงการปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตรของภาคการศึกษาและหลักสูตรการ พัฒนาฝีมือแรงงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือ แรงงานในภาพรวมของประเทศ 1. การพัฒนามาตรฐาน วิชาชีพ/มาตรฐานฝีมือ แรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ ให้ สอดคล้องกับความ ต้องการของนายจ้างและ ตลาดแรงงาน กิจกรรม: จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาหลักสูตรด้านชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์เฉพาะทาง ให้ สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้างและลูกจ้าง ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สมาคมวิชาชีพ/สถาบันยานยนต์/ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานสมรรถนะ (ต่อ) กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 2. ระบบรับรองความสามารถตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน และระบบรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ โครงการ: โครงการจัดทำระบบรับรองมาตรฐานสมรรถนะ ในอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการจัดทำระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ โครงการพัฒนาระบบรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ ในอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สมาคมวิชาชีพ/สถาบันยานยนต์/ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อตลาดแรงงานและความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อ เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ข้อมูลความต้องการพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงาน และ เครือข่ายพัฒนากำลัง แรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์และ เครือข่ายอื่นๆ โครงการ: โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ความต้องการพัฒนาทักษะฝีมือ แรงงานของนายจ้าง ลูกจ้าง โครงการรวบรวมข้อมูลหลักสูตรการฝึกอบรมพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานของ หน่วยงานต่างๆ ประจำปี โครงการพัฒนาระบบข้อมูลมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงาน หลักสูตรการศึกษาและการพัฒนาแรงงาน โครงการรวบรวมปริมาณแรงงานและติดตามประเมินผล ผู้ที่เข้ารับการเพิ่ม ทักษะ ฝีมือ สมรรถนะ ตำแหน่งงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการพัฒนารูปแบบซอฟต์แวร์การแจ้งข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะ แรงงาน ผ่านระบบ Manual และ IT โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ผ่านการฝึก และทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ผู้รับผิดชอบหลัก : กระทรวงศึกษาธิการ อาชีวศึกษา อุดมศึกษา สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานสถิติแห่งชาติ สภา/สมาคมวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค หน่วยฝึกภาครัฐและ เอกชนอื่นๆ
กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับ AEC และรองรับการแข่งขันในเวทีโลก กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม การสร้างองค์กรพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ บุคลากร ระดับสูงในกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการ: โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งองค์กรพัฒนาทรัพยากรบุคคลากรระดับสูงในอุตสาหกรรมยานยนต์ โครงการพัฒนาและยกระดับศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้านยานยนต์ระดับสูงในสถานศึกษาและหน่วยงานพัฒนาฝีมือแรงงานใน 6 จังหวัดภาคตะวันออกและภาคกลาง ผู้รับผิดชอบหลัก : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมวิชาชีพ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม สถาบันยานยนต์ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หน่วยงานฝึกอบรมภาคเอกชนและภาครัฐ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน
การดำเนินงานในระยะต่อไป จัดทำ Roadmap (ร่าง) แผนงานการพัฒนากำลังแรงงาน ในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ.2556-2563 - แผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว แบ่งเป็น 1)งานประจำของหน่วยงาน 2)งานที่ต้องทำใหม่ 1.แผนงานด้านการพัฒนากำลังคน/แรงงาน 2.แผนงานด้านการสร้างเครือข่าย 3.แผนงานด้านมาตรฐานฝีมือแรงงาน 4.แผนงานด้านการจัดทำระบบฐานข้อมูล 5.แผนงานด้านองค์กร HRD - จัดทำกรอบวงเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์ - ตัวชี้วัด การติดตามประเมินผล