เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
25/07/2006.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

จังหวัดเชียงราย ประชากร 1,198,656 คน ประชากร 1,198,656 คน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 235 แห่ง สถานบริการสาธารณสุขเอกชน 624 แห่ง

ภาคีเครือข่ายเป้าหมาย หน่วยงานที่ร่วมดำเนินการ - 16 โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์เชียงราย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย รพ.เอกชน รพ.ค่าย / รพ.มหาวิทยาลัย

ความเป็นมาของการดำเนินงาน พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านยาในโรงพยาบาล : การแพ้ยาซ้ำ ระดับรุนแรง ไม่มีระบบการเฝ้าระวังการแพ้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิที่ชัดเจน ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและการประสานงาน ระหว่าง สสจ., รพศ., รพช., และ รพสต. มุ่งเน้น ความปลอดภัยในระบบยาทั้งในระดับ โรงพยาบาลและชุมชน

วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน มี ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ครอบคุลมหน่วยบริการในชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร

กลวิธีในการดำเนินงาน วิเคราะห์สถานการณ์ พัฒนารูปแบบการดำเนินการเครือข่าย (รพ. รพ.สต.) ต่อยอดลงชุมชน (อสม. โรงเรียน ร้านยา สถานพยาบาล วิทยุชุมชน) จัดการความเสี่ยงตามปัญหาที่พบในพื้นที่ การติดตามประเมินผล

โครงสร้างการดำเนินงาน

ขอบเขตการเฝ้าระวัง แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ : แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง ความเสี่ยงด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบในพื้นที่

เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น เชียงราย APR Model รพช. เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น สถานพยาบาล/ร้านยา หน่วยบริการปฐมภูมิ รพศ. สสจ.เชียงราย

เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

พัฒนาเครือข่ายระดับโรงพยาบาล

พัฒนาเครือข่ายระดับ รพ.สต.

พัฒนาเครือข่าย อสม.

พัฒนาเครือข่าย ร้านยา

พัฒนาเครือข่าย ครู นักเรียน

พัฒนาเครือข่าย วิทยุชุมชน สปอตวิทยุ - แพ้ยา - ปากเสีย - ยาชุด - ชื่อสามัญทางยา

เครือข่าย ประชาชน : ผู้นำชุมชน

ผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนาเครือข่าย

เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา จังหวัดเชียงราย 174 แห่ง รพ.สต. 84 แห่ง 8 แห่ง รพศ. รพช. ร้านยา/สถานพยาบาล โรงเรียน สสจ. อสม. ตัวแทน 13 อำเภอ

ผลการดำเนินงาน การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาในชุมชน การจัดการยาเหลือใช้ ยาขยะ ยาชุด ยาลูกกลอน ยา steroid รถเร่ขายยา ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลอม ไม่มีทะเบียน

เกิดระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ รพศ. รพช. รพ.สต.

สื่อความรู้/แบบฟอร์มต่างๆ

ระบบการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา ระหว่างโรงพยาบาล รพศ.เชียงราย - ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา (ยกเว้นข้อมูลยา TB,ARV และต้องได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย/ญาติผู้ป่วย) รพช.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ LAN ของ รพ. ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา รพ.สต.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ JHCIS

เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย : www.crapr.org ผู้ที่เข้าถึงข้อมูล - รพศ. /รพช. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาในภูมิลำเนา และที่เคยมารับบริการ รพ.สต. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาตามภูมิลำเนา

ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ ข้อมูลรายละเอียดการแพ้ยา จาก รพ./รพ.สต.ในภูมิลำเนาของผู้ป่วย ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ

ค้นหาข้อมูลตามหมายเลขบัตรประชาชน ข้าพเจ้าได้อนุญาตให้เผยแพร่ข้อมูล อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้กับเครือข่ายบริการสาธารณสุขในภูมิลำเนา รพ./รพ.สต (ระบุหน่วยงาน) ..................................................................................... ลายมือชื่อผู้ป่วย/ผู้ปกครอง.....................................................................................

ผลลัพธ์จากการพัฒนาเครือข่าย รพ.สต. เกิดระบบส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จาก รพ.สต. ถึง โรงพยาบาลเครือข่าย

ผลการดำเนินงาน ปี 2553 - 2555 ประเด็นติดตาม ผลการดำเนินงาน จำนวนข้อมูลที่ส่งต่อ จาก โรงพยาบาลเชียงราย ถึงโรงพยาบาลชุมชนในเขตจังหวัดเชียงราย 5,765 รายงาน แพ้ยาซ้ำในระบบ ของทุก รพ.ในเครือข่าย 35 รายงาน

พบ case ผื่นแพ้ยารุนแรง เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต

การประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิดผื่นแพ้ยารุนแรง จังหวัดเชียงราย : 3 มิถุนายน 2554

ระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ รพ.สต. ส่งต่อสู่โรงพยาบาลระดับที่สูงกว่า ทุกกรณี โรงพยาบาลชุมชน ประเมิน SCORTEN ถ้าได้ 1 – 2 สามารถขอคำปรึกษาและรักษาเองได้ ถ้า SCORTEN > 3 ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ

ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ สายตรง แพทย์ skin รพ.ศูนย์ โทร 080 xxx xxxx หากไม่สามารถติดต่อได้ โทรเข้า OPD skin เบอร์ 053-910600 ต่อ 2118 (ติดต่อแพทย์ที่ออกตรวจในวันนั้น) skin_crh2010@hotmail.com ใช้ส่งรายละเอียดผู้ป่วยหรือรูปถ่ายผื่น หลังส่ง e-mail ควรส่ง SMS แจ้งว่าส่งแล้ว 33

ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ แผนกโรคผิวหนัง โรงพยาบาลเชียงราย ต้อง Add as Friend ก่อน เพื่อจำกัดการเข้าถึงข้อมูล ระมัดระวังเรื่องความลับและสิทธิผู้ป่วย 34

แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิด SJS / TEN SCORTEN Vital signs Skin Eyes 35

Mouth Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy Genitalia & anus Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy 36

ผลการดำเนินงาน โรงพยาบาลในเครือข่ายได้มีการประยุกต์ใช้แนวทางดังกล่าวในการดูแลผู้ป่วยผื่นแพ้ยารุนแรง จากการติดตามไม่พบเหตุการณ์การแพ้ยาซ้ำที่รุนแรง ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต

ผลการดำเนินงาน เกิดกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร ในเวทีถอดบทเรียนเรื่องการพัฒนาเครือข่ายการทำงาน

ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ความสำเร็จของการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ ไม่เท่ากัน ขึ้นกับบริบท ต้นทุนเดิมของพื้นที่ ทักษะการทำงานในชุมชน ของแต่ละพื้นที่

แผนการดำเนินงาน - ต่อยอดเครือข่ายการทำงาน การเฝ้าระวังและจัดการความปลอดภัยจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้เข้มแข็งและยั่งยืน - มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากการดำเนินงานขยายสู่การพัฒนาระบบยาในเรื่องอื่นๆ และการคุ้มครอง ผู้บริโภค

ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย เรื่องแพ้ยาไม่มีใคร อยากจะแพ้ เราต้องร่วมช่วยกันแก้ อย่าแพ้ซ้ำ ทั้งติดปก ลงประวัติ บัตรช่วยจำ ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย

ขอบคุณค่ะ