เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงราย ประชากร 1,198,656 คน ประชากร 1,198,656 คน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 235 แห่ง สถานบริการสาธารณสุขเอกชน 624 แห่ง
ภาคีเครือข่ายเป้าหมาย หน่วยงานที่ร่วมดำเนินการ - 16 โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์เชียงราย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย รพ.เอกชน รพ.ค่าย / รพ.มหาวิทยาลัย
ความเป็นมาของการดำเนินงาน พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านยาในโรงพยาบาล : การแพ้ยาซ้ำ ระดับรุนแรง ไม่มีระบบการเฝ้าระวังการแพ้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิที่ชัดเจน ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและการประสานงาน ระหว่าง สสจ., รพศ., รพช., และ รพสต. มุ่งเน้น ความปลอดภัยในระบบยาทั้งในระดับ โรงพยาบาลและชุมชน
วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน มี ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ครอบคุลมหน่วยบริการในชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร
กลวิธีในการดำเนินงาน วิเคราะห์สถานการณ์ พัฒนารูปแบบการดำเนินการเครือข่าย (รพ. รพ.สต.) ต่อยอดลงชุมชน (อสม. โรงเรียน ร้านยา สถานพยาบาล วิทยุชุมชน) จัดการความเสี่ยงตามปัญหาที่พบในพื้นที่ การติดตามประเมินผล
โครงสร้างการดำเนินงาน
ขอบเขตการเฝ้าระวัง แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ : แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง ความเสี่ยงด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบในพื้นที่
เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น เชียงราย APR Model รพช. เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น สถานพยาบาล/ร้านยา หน่วยบริการปฐมภูมิ รพศ. สสจ.เชียงราย
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
พัฒนาเครือข่ายระดับโรงพยาบาล
พัฒนาเครือข่ายระดับ รพ.สต.
พัฒนาเครือข่าย อสม.
พัฒนาเครือข่าย ร้านยา
พัฒนาเครือข่าย ครู นักเรียน
พัฒนาเครือข่าย วิทยุชุมชน สปอตวิทยุ - แพ้ยา - ปากเสีย - ยาชุด - ชื่อสามัญทางยา
เครือข่าย ประชาชน : ผู้นำชุมชน
ผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนาเครือข่าย
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา จังหวัดเชียงราย 174 แห่ง รพ.สต. 84 แห่ง 8 แห่ง รพศ. รพช. ร้านยา/สถานพยาบาล โรงเรียน สสจ. อสม. ตัวแทน 13 อำเภอ
ผลการดำเนินงาน การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาในชุมชน การจัดการยาเหลือใช้ ยาขยะ ยาชุด ยาลูกกลอน ยา steroid รถเร่ขายยา ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลอม ไม่มีทะเบียน
เกิดระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ รพศ. รพช. รพ.สต.
สื่อความรู้/แบบฟอร์มต่างๆ
ระบบการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา ระหว่างโรงพยาบาล รพศ.เชียงราย - ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา (ยกเว้นข้อมูลยา TB,ARV และต้องได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย/ญาติผู้ป่วย) รพช.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ LAN ของ รพ. ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา รพ.สต.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ JHCIS
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย : www.crapr.org ผู้ที่เข้าถึงข้อมูล - รพศ. /รพช. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาในภูมิลำเนา และที่เคยมารับบริการ รพ.สต. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาตามภูมิลำเนา
ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ ข้อมูลรายละเอียดการแพ้ยา จาก รพ./รพ.สต.ในภูมิลำเนาของผู้ป่วย ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ
ค้นหาข้อมูลตามหมายเลขบัตรประชาชน ข้าพเจ้าได้อนุญาตให้เผยแพร่ข้อมูล อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้กับเครือข่ายบริการสาธารณสุขในภูมิลำเนา รพ./รพ.สต (ระบุหน่วยงาน) ..................................................................................... ลายมือชื่อผู้ป่วย/ผู้ปกครอง.....................................................................................
ผลลัพธ์จากการพัฒนาเครือข่าย รพ.สต. เกิดระบบส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จาก รพ.สต. ถึง โรงพยาบาลเครือข่าย
ผลการดำเนินงาน ปี 2553 - 2555 ประเด็นติดตาม ผลการดำเนินงาน จำนวนข้อมูลที่ส่งต่อ จาก โรงพยาบาลเชียงราย ถึงโรงพยาบาลชุมชนในเขตจังหวัดเชียงราย 5,765 รายงาน แพ้ยาซ้ำในระบบ ของทุก รพ.ในเครือข่าย 35 รายงาน
พบ case ผื่นแพ้ยารุนแรง เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
การประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิดผื่นแพ้ยารุนแรง จังหวัดเชียงราย : 3 มิถุนายน 2554
ระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ รพ.สต. ส่งต่อสู่โรงพยาบาลระดับที่สูงกว่า ทุกกรณี โรงพยาบาลชุมชน ประเมิน SCORTEN ถ้าได้ 1 – 2 สามารถขอคำปรึกษาและรักษาเองได้ ถ้า SCORTEN > 3 ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ
ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ สายตรง แพทย์ skin รพ.ศูนย์ โทร 080 xxx xxxx หากไม่สามารถติดต่อได้ โทรเข้า OPD skin เบอร์ 053-910600 ต่อ 2118 (ติดต่อแพทย์ที่ออกตรวจในวันนั้น) skin_crh2010@hotmail.com ใช้ส่งรายละเอียดผู้ป่วยหรือรูปถ่ายผื่น หลังส่ง e-mail ควรส่ง SMS แจ้งว่าส่งแล้ว 33
ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ แผนกโรคผิวหนัง โรงพยาบาลเชียงราย ต้อง Add as Friend ก่อน เพื่อจำกัดการเข้าถึงข้อมูล ระมัดระวังเรื่องความลับและสิทธิผู้ป่วย 34
แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิด SJS / TEN SCORTEN Vital signs Skin Eyes 35
Mouth Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy Genitalia & anus Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy 36
ผลการดำเนินงาน โรงพยาบาลในเครือข่ายได้มีการประยุกต์ใช้แนวทางดังกล่าวในการดูแลผู้ป่วยผื่นแพ้ยารุนแรง จากการติดตามไม่พบเหตุการณ์การแพ้ยาซ้ำที่รุนแรง ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
ผลการดำเนินงาน เกิดกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร ในเวทีถอดบทเรียนเรื่องการพัฒนาเครือข่ายการทำงาน
ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ความสำเร็จของการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ ไม่เท่ากัน ขึ้นกับบริบท ต้นทุนเดิมของพื้นที่ ทักษะการทำงานในชุมชน ของแต่ละพื้นที่
แผนการดำเนินงาน - ต่อยอดเครือข่ายการทำงาน การเฝ้าระวังและจัดการความปลอดภัยจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้เข้มแข็งและยั่งยืน - มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากการดำเนินงานขยายสู่การพัฒนาระบบยาในเรื่องอื่นๆ และการคุ้มครอง ผู้บริโภค
ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย เรื่องแพ้ยาไม่มีใคร อยากจะแพ้ เราต้องร่วมช่วยกันแก้ อย่าแพ้ซ้ำ ทั้งติดปก ลงประวัติ บัตรช่วยจำ ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย
ขอบคุณค่ะ