สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th โรงพิมพ์ตำรวจ ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประธานกรรมการ : พล.ต.ท.พีระ พุ่มพิเชฎฐ์ กรรมการผู้แทน กค. : นางอภิญญา นุกูลการ Website : http://policeprinting.police.go.th โทร. 0 2668 2811-3 คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้อำนวยการ (CEO) : ร.ต.กิตตินันท์ ยะตินันท์ สัญญาจ้างลงวันที่ : 9 มิ.ย 52 ระยะเวลาจ้าง : 9 มิ.ย. 52 – 8 มิ.ย. 54 วาระที่ 1 วาระที่ 2 ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO Board รอง CEO บุคคลภายนอก (รองผู้อำนวยการโรงพิมพ์ตำรวจ) รอง CEO พนักงาน สัญญาจ้าง CFO พนักงาน สัญญาจ้าง ข้อบังคับโรงพิมพ์ตำรวจ พ.ศ. 2508 เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 39 Min-max ของเงินเดือน : 5,510 – 43,140 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 11,700 บาท จำนวนพนักงาน : 109 คน (31 พ.ค. 54) วัตถุประสงค์ (ข้อ 3) ดำเนินการพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ทั้งหลายที่ใช้ในกิจการของกรมตำรวจ หรือของกระทรวง ทบวง กรมอื่นหรือเอกชน ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมตำรวจก่อน จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการโรงพิมพ์ตำรวจ ประกอบด้วย รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (งานบริหาร) ซึ่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติซึ่งผู้บัญชา การตำรวจแห่งชาติแต่งตั้ง ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้บังคับการกองการเงิน ผู้บังคับการกองพลาธิการ และสรรพาวุธ ผู้บังคับการกองนิติการ ผู้บังคับการกองคดีอาญา เลขานุการตำรวจแห่งชาติ ผู้ซึ่งบัญชาการ ตำรวจแห่งชาติเห็นสมควรแต่งตั้ง 2 คน ผู้อำนวยการโรงพิมพ์ตำรวจ ให้ผู้อำนวยการโรงพิมพ์ตำรวจเป็นเลขานุการคณะกรรมการ (ข้อ 4) วาระการดำรงตำแหน่ง : -ไม่ระบุ- ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด อธิบดีกรมตำรวจเป็นผู้แต่งตั้งและเลิกจ้าง ตำแหน่งผู้อำนวยการหรือรองผู้อำนวยการโรงพิมพ์ตำรวจ (ข้อ 13 วรรคท้าย) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ -ไม่ระบุ- ปัจจุบันไม่มีโครงการที่ดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง -ไม่มี- ที่มาของข้อมูล สัญญาจ้างผู้บริหาร www.krisdika.go.th มติคณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี สิทธิในการรับพิมพ์เอกสารต่างๆ ให้หน่วยงานรัฐ โดยไม่ต้องประกวดราคา / สอบราคา และ ให้ดำเนินการได้โดยวิธีกรณีพิเศษ (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2553 เห็นชอบตามมติคณะกรรมการพิจารณาสิทธิพิเศษฯ หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0421.3/5613 ลว 24 มี.ค. 2553 ) สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 2 ผู้อำนวยการส่วน : นายปัญญ์สุธา รายา ผู้จัดทำ :นางสาวพิมพ์นิภา โตประเสริฐ โทร. 0 2298 5880-9 ต่อ 6719 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง ( ไม่มี )