แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
เศรษฐกิจของประเทศไทย
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
President Bakery PLC. Opportunity Day 3 March 2006
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาและเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตรอินทรีย์
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนธันวาคม 2548 โดย นายการุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สำนักวิชาการและแผนงาน
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ธันวาคม กิจกรรมจังหวัดที่ Key in แผนงาน ไม่ถูกต้องหรือยังไม่ Key in ( เป็นครั้ง ที่ 2) 1. การจัดที่ดินเกษตรกรรม (472,500 ไร่
การเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจในอนาคต 29 กันยายน 2553 โดย นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ตลาดสินค้าอาหารในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
การลดภาษีของออสเตรเลีย
สระแก้ว.
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
เผือกฉาบ. เผือกฉาบ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ สารบัญ ที่มาและความสำคัญ วัสดุ และอุปกรณ์ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ.
ธ.ก.ส. กับการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
การจัดทำแผนการควบคุมและ การให้การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีงานทำ จังหวัดชุมพร.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ไทย
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก ปัจจัยขยายตัว ตลาดสำคัญ พฤติกรรมผู้บริโภค เน้นสินค้าที่ดีต่อสุขภาพ ช่องทางจัดจำหน่าย เข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้น มาตรฐานสินค้าเกษตร อินทรีย์เป็นที่ยอมรับ กระแสอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม มาตรการตวจสอบของ ประเทศผู้นำเข้า สหภาพยุโรป /อเมริกาเหนือ (97%ของตลาดโลก) ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ตลาดเติบโตต่อเนื่อง ปี 2553 มีมูลค่า 100,000 ล้าน US$

การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย การบริโภคใน ประเทศ ปี 2548 มีมูลค่า 494 ล้านบาท ข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าว ผักสดและเมล็ดภัณฑ์ผัก ผลไม้แปรรูป น้ำตาล/น้ำมันปาล์ม กุ้ง สินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่ส่งออก ตลาดสำคัญ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงค์โปร์

การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย บริโภคในประเทศ 15,800 ตัน (494 ล้านบาท) พื้นที่การเกษตร สินค้าเกษตร อินทรีย์ 135,634 ไร่ (ปี 2548) (0.1% ของพื้นที่ ประเทศ) ผักสด สมุนไพร 4,618 ตัน (16%) 256 ล้านบาท ผลผลิต 29,415 ตัน ข้าว 18,960 ตัน (64%) 535 ล้านบาท ส่งออก 13,630 ตัน (426 ล้านบาท) ผลไม้ 3,747 ตัน (13%) 75 ล้านบาท

การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย สมุนไพร ผักสด (16%) นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ข้าว (64%) สุรินทร์ ยโสธร อุบลราชธานี อุดรธานี มหาสารคาม ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา เชียงรายพะเยา แพร่ ผลไม้ (13%) ชุมพร นนทบุรี เชียงใหม่ ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม

สินค้าที่มีการตรวจรับรองมาตรฐาน ข้าว ข้าวหอมมะลิ ข้าวมะลิแดง ข้าวเหลืองอ่อน ข้าวเหลืองประทิว ข้าวเหนียว ข้าวนิล ถั่วและธัญพืช ถั่วเหลือง ถั่วลิสง งา ผัก ผักสดต่างๆ ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว ผลไม้ กล้วย สัปปะรด มะละกอ ขนุน มะม่วง ลำไย 8 กลุ่มสินค้า เครื่องดื่ม ชา มะตูม ตระไคร้แห้ง ชากุหลาบ น้ำผึ้งป่า เครื่องปรุงอาหาร กะทิ น้ำตาลทราย แป้งมันสำปะหลัง น้ำมันปาล์ม สมุนไพร ฟ้าทะลายโจร ยอ สัตว์น้ำ กุ้ง ปลา

กลยุทธ์การพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย กลยุทธ์ระดับชาติ (สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ) ขยายฐานการผลิตสำหรับ สินค้าเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขีดความสามารถและ ปรับปรุงโครงสร้างให้มี ประสิทธิภาพดีขึ้น ให้ความสำคัญกับการวิจัยสินค้า เกษตรอินทรีย์ ปรับปรุงและยกระดับสมรรถนะ ของผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร อินทรีย์ภายในประเทศ ขยายตลาดส่งออกสินค้าเกษตร อินทรีย์ ทำให้ประเทศไทยเป็นผู้นำและ เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็น เลิศในระดับภูมิภาค การพัฒนาผู้ประกอบการด้านสินค้า เกษตรอินทรีย์ (Capacity Building) การขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ ในและต่างประเทศ (Market Expansion) การสร้างมูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ (Value Creation) สนับสนุนการสร้างสิ่งอำนวยความ สะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) กลยุทธ์การค้า(กระทรวงพาณิชย์)

ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทย (ต่อ) ตลาดภายในประเทศ ช่องทางการจำหน่ายสินค้าอาหารในประเทศ ตลาดดั้งเดิม (Traditional Trade) เช่น ร้านขายส่ง และร้านขายปลีก ตลาดสมัยใหม่ (Modern Trade) เช่น ห้างสรรพสินค้า ตลาดผู้ปรุงอาหาร (Catering) เช่น ร้านอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล ตลาดอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร (Food Processing Industry) เช่น โรงงานอาหารแปรรูปต่างๆ ในปัจจุบันตลาดหลักของสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศคือตลาดสมัยใหม่ (Modern Trade) ตลาดที่มีศักยภาพรองลงมาคือ ตลาดอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร และตลาดผู้ปรุงอาหาร

ช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อการส่งออก นายหน้า (Broker) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ บริษัทค้าสินค้าระหว่างประเทศ (Trading Firm) ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ผู้กระจายสินค้า (Distributor) ห้างสรรพสินค้า (Supermarket) ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร (Manufacturer)

ผู้ประกอบการ : ปัจจัยสำคัญในการทำโครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อการตลาด 4/4/2017 ค้นหาพันธมิตรในการดำเนินโครงการฯ เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม(ทั้งด้านภูมิศาสตร์และชุมชน) ต้องทำงานร่วมกับเกษตรกร เลือกหน่วยงานตรวจสอบรับรองมาตรฐานที่ สอดคล้องกับตลาด

จบการนำเสนอ