Communities of Practice (CoP)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การจัดการความรู้ขั้นตอนของเอกสารงานเหตุอันตรายและอุบัติภัย กองควบคุมการปฏิบัติการ การรถไฟแห่งประเทศไทย (Knowledge Management : km)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ฝึกการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
 การสอนแบบอภิปราย.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
Knowledge Management (KM)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้
เทคนิคการเป็น Facilitator ที่ดี
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Communities of Practice (CoP)

ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ( 1 ) อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ ( 2 ) ( 3 ) เน้นว่า Tacit K เป็นสิ่งที่ซ่อนเร้น ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Tomohiro Takanashi

Communities of Practice (CoP) “กลุ่มคนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้น”

CoP Communities of Practice เป็นเครื่องมือที่ทำให้คนในองค์กร กลุ่มคน Communities of Practice ประเด็น /หัวข้อ / สาระ เป็นเครื่องมือที่ทำให้คนในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา จนกลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร ความปรารถนาร่วมกัน สนใจร่วมกัน มีปัญหาร่วมกัน เอื้ออาทร ช่วยเหลือกัน ร่วมแก้ไขปัญหา ลักษณะ CoP แก้ปัญหา / แลกเปลี่ยนแนวคิด พัฒนา/เผยแพร่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ยกระดับ/พัฒนาความรู้ที่ใช้เป็นประจำ Innovation

Sponsor 2. Facilitator 3. Historian 4. Member สมาชิก CoP ประกอบด้วย ผู้บริหารที่เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนตามเป้าหมายองค์กร 2. Facilitator 3. Historian 4. Member ผู้ปฏิบัติงานหรือมีความรู้ในเรื่องที่แลกเปลี่ยน

Facilitator มีความรู้ในเรื่องนั้น สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง ไว้ใจกัน เพื่อเอื้อต่อการ Sharing บริหารเวลา คนและกระบวนการ CoP ให้บรรลุวัตถุประสงค์ จุดประกาย กระตุ้น สนับสนุนและให้กำลังใจความคิดดีๆ ให้สมาชิกเล่าประสบการณ์ ตั้งคำถาม วิเคราะห์ ถามเจาะลึก สรุปประเด็นเพื่อค้นหาความรู้ฝังลึกของสมาชิก

Historian มีความรู้ในเรื่องที่บันทึก จับประเด็นได้รวดเร็ว ในเวลาจำกัด ใช้ภาษาที่สื่อสารตรงกับความรู้สึกหรือเรื่องที่เล่า สละสลวย สามารถถามย้อนกลับ เพื่อทวนความเข้าใจที่ถูกต้อง สรุปประเด็นหลักหลังการประชุมทันที

กติกา CoP ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง สมาชิกทุกคนมีประสบการณ์ในเรื่องนั้น ทุกคนเท่ากัน “ไม่มีนาย ไม่มีลูกน้อง” พูดในเชิงบวก พูดให้ทุกคนในวงเสวนาฟัง ไม่มีการโต้ตอบ ไม่ตัดสินใจ สมาชิกเป็นนักฟังที่ดี ไม่คุยกับเพื่อนข้างๆ จำนวนสมาชิกไม่เกิน 20 คน หากเกินให้แลกเปลี่ยนหรือติดตามผ่าน KM Web

ปัญหาที่มักพบในการเขียนโครงการ

การบริหารจัดการโครงการ เทคนิคการเขียนโครงการที่ดี เทคนิคการนำเสนอโครงการ การวิเคราะห์โครงการ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การบริหารจัดการโครงการ 5.1 เทคนิคการจัดทำ Action Plan 5.2 เทคนิคการติดตามประเมินผล 5.3 เทคนิคการจัดทำรายงาน

แนะนำตัวเอง / ใครเคยทำโครงการใดบ้าง เกริ่น “ทำไมต้องทำ CoP การบริหารโครงการ” ใครมีประสบการณ์ ว่าการบริหารโครงการนั้นต้องทำอะไรบ้าง มาเล่าให้เพื่อนสมาชิกฟัง ในการปฏิบัติจริง พวกเราพบปัญหาอะไรบ้างในการบริหารโครงการ ประเด็นนี้น่าสนใจ ช่วยขยายความ หมายถึงอะไร (เขียนโครงการ : นำเสนอ (ข้อมูลใดต้องนำเสนอ/ ไม่ต้องเสนอ , เอกสารนำเสนอต้องมีอะไรบ้าง) บริหารโครงการ (ระยะเวลาไม่เป็นไปตามกำหนด, บริหารงบอย่างไร) ติดตามผล (แบ่งหน้าที่ในการติดตามงานอย่างไร, บทบาทของผู้ติดตามงาน, จะมีวิธีการรายงานผลอย่างไร)