การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57 โดย นางจารุวรรณ เย็นเสมอ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
รายละเอียดกิจกรรมตามโครงการ สอบถามพฤติกรรมการบริโภคฯ หมู่บ้านละ 10 ครัวเรือน เก็บปัสสาวะเด็ก อายุ 3-5 ปี หมู่บ้านละ 5 ราย เก็บปัสสาวะผู้สูงอายุ หมู่บ้านละ 5 ราย เก็บตัวอย่างเกลือจากครัวเรือนที่เก็บข้อมูล หมู่บ้านละ 10 ตัวอย่าง - ตรวจคุณภาพเกลือโดยใช้ I-Kit - ส่งตัวอย่างเกลือ 1 ตัวอย่าง เพื่อส่งตรวจยืนยัน
เอกสารและวัสดุอุปกรณ์ ที่ รายการ จำนวน หมายเหตุ 1 รายชื่อหมู่บ้านในโครงการฯ 1 แผ่น 2 แบบเก็บข้อมูลการเก็บปัสสาวะ 2 แผ่น 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคฯ 10 ชุด 4 ถ้วยพลาสติก สำหรับให้ปัสสาวะใส่ถ้วยแล้วจึงนำมาเทใส่ขวดที่ระบุใน ข้อ 5 10 ถ้วย 5 ขวดพลาสติก มีฝาปิด ขนาด 30 มิลลิลิตร 10 ขวด เก็บตัวอย่างปัสสาวะ 20 ซีซี
เอกสารและวัสดุอุปกรณ์ ที่ รายการ จำนวน หมายเหตุ 6 ถุงพลาสติกซิปล็อค สำหรับใส่ขวดปัสสาวะ 10 ถุง 7 ปากกาลูกลื่น สำหรับเขียนบนกระดาษกาวย่นติดบนขวด 1 ด้าม 8 พาราฟิล์ม สำหรับพันรอบปากขวดเพื่อปิดปากขวดให้สนิท 10 ชิ้น 9 กระดาษกาวย่น สำหรับเขียน รหัส/ชื่อ – นามสกุล 1 ม้วน ห้ามนำไปพันรอบปากขวด 10 I-Kit สำหรับทดสอบเกลือ 1 กล่อง
กำหนดส่งงาน? กำหนดวันส่งงาน ค่าตอบแทน
รายการที่ต้องนำส่งในวันนัดหมาย จำนวน หมายเหตุ 1 แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคฯ 10 ชุด 2 แบบเก็บข้อมูลการเก็บปัสสาวะ (ผู้สูงอายุ, เด็ก) 2 แผ่น 3 ขวดปัสสาวะที่ใส่มาในถุงพลาสติกซิปล็อค 10 ขวด 4 แผ่น CD ที่คีย์ข้อมูลตามแบบเก็บใน ข้อ 2 1 แผ่น 5 ตัวอย่างเกลือ (ตำบลละ 1 ยี่ห้อ) 1 ถุง ระบุชื่อตำบลในถุงเกลือด้วย
มุ่งสู่เป้าหมาย “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนถ้วนทั่วเมืองไทย” มุ่งสู่เป้าหมาย “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนถ้วนทั่วเมืองไทย” ประเทศไทย ปลอดโรคขาดสารไอโอดีน เสริมสร้างสติปัญญา และสุขภาวะที่ดีของทุกกลุ่มวัย ขอบคุณ กระทรวงสาธารณสุข