นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Free Trade Area Bilateral Agreement
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
โครงการชลประทานหนองคาย
แนวคิดการตลาดและการกำหนด กลยุทธ์การตลาด
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
Computer Application in Customer Relationship Management
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
ค่า Ft.
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศคณะกรรมการกำกับ กิจการพลังงาน เรื่อง การ กำหนดประเภทและอายุ ใบอนุญาตการประกอบกิจการ พลังงาน พ. ศ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 มกราคม 2552.
การดำเนินงาน ตามมาตรการประหยัด พลังงานและไฟฟ้า (ผต.สุจริตฯ และ สบก.) วาระที่ 4.7.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
น.ส.ภาสุรภัค ขวัญพรหม รหัสนักศึกษา ภาควิชา พัฒนาการเกษตร
นางสาวเสาวลักษณ์ ศรีษะแก้ว (section 01) ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตหาดใหญ่
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมวลภาพรวม พัฒนาการกิจการไฟฟ้าไทย
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
เรื่อง การบริหารจัดการระบบ กองทุน มจธ. ครั้งที่ 1 16 พฤษภาคม 2549 หัวข้อการวิจัย.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
Company Logo หลักสูตรเลขามือ อาชีพ วันที่จัดอบรม 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 9: น. โรงแรม เจ้าพระยา ปาร์ค ( รัชดาภิเษก ) ค่าลงทะเบียน 3,900 บาท ( ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
2 รายงานการศึกษาภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมยาง และผลิตภัณฑ์ ( กระทรวงอุตสาหกรรม ) กระทรวงอุตสาหกรรม ให้สำงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำ รายงานฯ เมื่อเดือน ธันวาคม.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า ชื่นชม สง่าราศรี กรีเซน การสัมมนา มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม เรื่อง “ค่าไฟฟ้าและนโยบายพลังงานของประเทศ” 16 กุมภาพันธ์ 2549 โรงแรม สยามซิตี้ กรุงเทพฯ

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย เพื่อให้โครงสร้างอัตรา และต้นทุนค่าไฟฟ้าสะท้อนต้นทุนการบริหารจัดการ และการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ ราคาเหมาะสมและเป็นธรรมสำหรับผู้บริโภค และผู้ประกอบการ รองรับนโยบายทางสังคม เช่น การสนับสนุนพลังงานสะอาด และการดูแลผู้ใช้ไฟฟ้ารายได้น้อยและในชนบท

ส่วนประกอบค่าไฟฟ้า ค่าบริหาร ส่วนกลาง

จำแนกสัดส่วนต้นทุนค่าไฟฟ้า (ประมาณปีพ.ศ. 2549) จำแนกสัดส่วนต้นทุนค่าไฟฟ้า (ประมาณปีพ.ศ. 2549) เชื้อเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้า(ไม่รวมเชื้อเพลิง) กฟผ. (ผลิต) กฟผ. (ส่วนกลาง G/T?) กฟผ. ระบบส่ง กฟน. , กฟภ. (ระบบจำหน่าย)

การกำกับดูแลในกิจการไฟฟ้า/ก๊าซ ปัจจุบัน : กพช./สนพ. อนาคต : องค์กรกำกับดูแลอิสระสาชาก๊าซ ? ปัจจุบัน : คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไฟฟ้า (Interim Regulator) อนาคต : องค์กรกำกับดูแลอิสระ จัดตั้งโดย พ.ร.บ.

ส่วนประกอบค่าไฟฟ้า <30% ของต้นทุน ค่าบริหาร ส่วนกลาง <30% ของต้นทุน ขอบเขตหน้าที่ของ Interim Regulator

คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไฟฟ้า (Interim Regulator) จุดเริ่มต้นที่ดี มีบทบาท ความพยายามและความแข็งขันในการปฏิบัติหน้าที่ มีข้อจำกัดเรื่องอำนาจหน้าที่ทางกฎหมายและโครงสร้าง กำหนดเฉพาะค่า Ft ไม่มีอำนาจอนุมัติค่าไฟฟ้าฐาน ขาดความเป็นอิสระ (Autonomy) ด้านที่มาของงบประมาณ และบุคลากร อำนาจในการอนุมัติส่วนใหญ่ยังคงอยู่ที่ กพช. ในอนาคต : ควรมีการจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลอิสระ ที่มีพระราชบัญญัติรองรับ

การกำกับดูแลการใช้เชื้อเพลิง Interim Regulator กำกับดูแลเฉพาะปริมาณการใช้เชื้อเพลิง ราคา : ยังไม่มีองค์กรกำกับดูแลที่แยกออกจากฝ่ายนโยบาย ราคาน้ำมันเตา / ดีเซล : มีการแข่งขัน แต่ ยังติดเงื่อนไขให้ กฟผ. ต้องซื้อน้ำมันดีเซล (มติ ครม. 15 มิ.ย. 42) และร้อยละ 80 ของน้ำมันเตา (มติ ครม. 8 ก.ย. 35) จาก ปตท. เท่านั้น ทำให้ราคาแพงกว่าที่ควร ค่าผ่านท่อ / ค่า Margin ก๊าซ : ควรทบทวนเพื่อให้เป็นธรรม และสะท้อนต้นทุนมากขึ้น ราคาเนื้อก๊าซ : เจรจาปรับปรุงโครงสร้างราคาเปิดให้ผู้ซื้อ และผู้ขายเจรจาต่อรองได้โดยตรง

โครงสร้างกิจการไฟฟ้า/ก๊าซธรรมชาติ ที่เอื้อต่อการพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุน การแข่งขัน คือ แรงจูงใจที่ดีที่สุดในการพัฒนาประสิทธิภาพ และลดต้นทุน กิจการก๊าซ : มติ ครม. วันที่ 31 ต.ค. 43 กำหนดให้แยกธุรกิจท่อก๊าซออกจาก ปตท. เพื่อปูทางไปสู่การแข่งขันแบบ Third Party Access และจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลอิสระสาขาก๊าซ กิจการไฟฟ้า : โครงสร้าง ESB (แยกบัญชี G และ T ) ไม่เพียงพอ ควรพิจารณาข้อเสนอจากฝ่ายต่างๆให้มีการปฏิรูปกิจการไฟฟ้า

ROIC และประสิทธิภาพการลงทุน การใช้ ผลตอบแทนจากเงินลงทุน (Return on Invested Capital) เป็นเกณฑ์หลักในการกำหนดค่าไฟฟ้า จะต้องมีการกำกับดูแลแผนการลงทุนที่เข้มงวด มิฉะนั้นจะนำมาซึ่งการลงทุนเกินความเป็นจริง เพราะยิ่งลงทุนมาก ยิ่งกำไรมาก คณะกรรมการกำกับดูแลขาดข้อมูล ความรู้ และบุคลากรที่เพียงพอในการตรวจสอบถ่วงดุล และยังขาดอำนาจพิจารณาอนุมัติ (อำนาจ กพช.) ROIC = กำไรสุทธิหลังหักภาษี เงินลงทุน กฟผ. 8.4% กฟน. กฟภ. 4.8% ผล : การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ามักสูงเกินจริง การวางแผนเน้นทางเลือกที่ใช้การลงทุนสูง

สัญญาณบ่งบอกถึงความด้อยประสิทธิภาพของแผนการลงทุน ประเทศไทย ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost) ของระบบผลิต (ไม่รวมต้นทุนเชื้อเพลิง) จากการศึกษาของ PwC เพิ่มขึ้นร้อยละ 35 ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา แผนการลงทุนของ กฟผ. ใน 5 ปีข้างหน้า มีมูลค่ารวมประมาณ 131,000 ล้านบาท แยกเป็นระบบผลิต 69,000 ล้านบาท และระบบส่ง 62,000 ล้านบาท ต่างประเทศ Ireland – retail costs for new capacity to 2021 Source: World Alliance for Decentralized Energy, April 2005

ข้อเสนอเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวางแผนลงทุน การพิจารณา “เงินลงทุน” ในการคำนวณ ROIC ควรพิจารณาเฉพาะเงินลงทุน หรือทรัพย์สินที่ได้ใช้อย่างคุ้มค่า และเป็นประโยชน์ (Used and Useful criteria) จัดสรรความเสี่ยงให้แก่ผู้ที่สามารถจัดการความเสี่ยงนั้นได้ดีที่สุด เปิดให้ผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่สามารถจัดการหาไฟฟ้าสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้เอง หรือ กำหนดให้ผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ต้องมี Financial Commitment หากเป็นผู้ก่อให้เกิดความต้องการในการลงทุนขยายระบบ ปฏิรูประบบการวางแผน : เปิดให้มีระบบ Hearing และพิจารณา DSM / EE และ Distributed Generation เป็นทางเลือกหนึ่งในการขยายระบบบนฐานที่เท่าเทียมกัน

การขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าในอนาคต นโยบาย : ให้ กฟผ. มีสิทธิสร้างโรงไฟฟ้าอย่างน้อยร้อยละ 50 ของกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น ส่วนที่เหลือให้มีการประมูลแข่งขัน ประเด็นที่ควรจับตามอง จะมั่นใจได้อย่างไรว่าส่วนที่ กฟผ. ลงทุนเองจะมีราคาถูก และมีประสิทธิภาพ ? กฟผ. สามารถโยกต้นทุนระบบผลิตไปไว้ในระบบส่งไฟฟ้า สำหรับส่วนที่จะมีการประมูล แข่งขันอย่างเท่าเทียมกัน ? ลูก กฟผ. ร่วมประมูลได้ ? มีโอกาสใน “การฮั้ว” ? SPP และ “Green IPP” (DSM/EE/RE/DG) มีสิทธิได้รับการพิจารณาหรือไม่ และภายใต้เงื่อนไขที่เป็นธรรม ?

นโยบาย RPS Renewable Portfolio Standard หรือ นโยบายการกำหนดสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 5 ของกำลังการผลิตใหม่ของ กฟผ. = พลังงานหมุนเวียน (RE) อาจกำหนดให้มี RPS 3 – 5% สำหรับโรงไฟฟ้าใหม่ของเอกชนด้วย ? ประเด็นต่อค่าไฟฟ้า : การกำกับดูแลต้นทุนการลงทุนของ กฟผ. ในสัดส่วน RPS ใครเป็นผู้กำกับดูแล จะถูกรวมอยู่ในค่าไฟฟ้าหรือค่า Ft หรือไม่ มีหลักเกณฑ์ในการเลือก RE ประเภทต่าง ๆ อย่างไร ความคืบหน้า ? อยู่ระหว่างการทบทวน ? Feed-in Tariff?

เปรียบเทียบพลังงานหมุนเวียนและผลต่อค่าไฟฟ้า