โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

ฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย สาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : กรณีตัวอย่างคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย สุปริญา ลุลิตานนท์ ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์(ห้องสมุด)
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ.
สรุป Web of Science โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
Social Network Conference
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/01/54 โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
ขอบเขตการสืบค้นข้อมูล
ภวัต เรืองยิ่ง แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
ฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูลซีดีรอม เฉพาะตัวอักษร เช่น มัลติมีเดีย เช่น
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ฐานข้อมูล Science Direct
ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
E-Sarabun.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Acquisition Module.
ทรัพยากรสารสนเทศ วัสดุ หรือ สื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ : วัสดุไม่ตีพิมพ์ โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 3. อธิบายและบอกระดับโครงสร้างของฐานข้อมูลได้ 4. บอกประเภทของฐานข้อมูลและอธิบายวิธีการใช้ฐานข้อมูลแต่ละประเภทได้ 5. อธิบายการใช้บริการต่างๆในฐานข้อมูลห้องสมุดได้

2.วัสดุไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) วัสดุใดก็ตามที่ไม่อยู่ในรูปของตัวพิมพ์และสามารถสื่อ ความหมายจากข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้

ประเภทของวัสดุไม่ตีพิมพ์ 2.1 ต้นฉบับตัวเขียน (Manuscripts) 2.2 โสตทัศนวัสดุ (Audio visual materials) 2.2.1 โสตวัสดุ 2.2.2 ทัศนวัสดุ 2.3 วัสดุย่อส่วน (Microforms) 2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic medias)

2.1 ต้นฉบับตัวเขียน (Manuscripts) เป็นลายมือผู้เขียน หรือต้นฉบับของผู้แต่งก่อนที่จะนำไปเผยแพร่ เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณค่าต่อการศึกษาด้านประวัติ วัฒนธรรม และประวัติผู้เขียน ลักษณะของต้นฉบับตัวเขียน - จารึกโบราณ ตัวอย่าง - ต้นฉบับตัวเขียนโบราณ ตัวอย่าง - ต้นฉบับตัวเขียนรุ่นใหม่ ตัวอย่าง

ตัวอย่าง จารึกโบราณ

ตัวอย่าง ต้นฉบับตัวเขียนโบราณ

ตัวอย่าง ต้นฉบับตัวเขียนรุ่นใหม่

2.2 โสตทัศนวัสดุ (Audio visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่มีทั้งภาพ และเสียงควบคู่กัน เช่น ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ ภาพนิ่งประกอบเสียง หรือ สไลด์ประกอบเสียง 2.2.1 โสตวัสดุ (Audio materials) 2.2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials)

ตัวอย่าง โสตวัสดุ

ตัวอย่าง ทัศนวัสดุ

2.3 วัสดุย่อส่วน (MicroForms) เป็นวัสดุที่เก็บข้อมูลไว้ด้วยการถ่ายหรือย่อภาพ หรือ ข้อมูลต่างๆ ลงไว้โดยเป็นฟิล์ม หรือเป็นบัตร กระดาษพิเศษ ตัวอย่าง

ตัวอย่าง วัสดุย่อส่วน

2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เวลาใช้ต้องมีเครื่องมือแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสารสนเทศที่ค้นคืนได้ มีทั้งภาพและเสียง 2.4.1 ซีดี-รอม (CD-ROM =Compact Disc Read Only Memory) 2.4.2 ดีวีดี (DVD = Digital Video Disc) 2.4.3 สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing)

ซีดีรอม

ดีวีดี

สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ คือ สิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาอยู่ในรูปแบบดิจิทัลและต้องอ่านด้วยคอมพิวเตอร์ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม หรือผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น ฐานข้อมูลซีดี-รอม ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดทำขึ้น (OPAC)

ประเภทของสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic book -- e-book) 2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic journal -- e-journal) 3. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic newspaper -- e-newspaper) 4. จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic newsletter e- newsletter)

ฐานข้อมูล (Database)

ฐานข้อมูล (Database) ประเภทของฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ แบ่งตาม ลักษณะวัสดุบันทึกข้อมูล ได้ดังนี้ 1. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) 2. ฐานข้อมูลซีดีรอม (CD-ROM Database)

ประเภทของฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บ ได้ดังนี้ 1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) 2. ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Database) 3. ฐานข้อมูลเต็มรูป (Full-text Database) 4. ฐานข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Database) 5. ฐานข้อมูลสื่อประสม (Multimedia Database)

ประโยชน์ของฐานข้อมูล - ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล - หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล - ใช้ข้อมูลร่วมกัน - รักษาความน่าเชื่อถือและถูกต้องของข้อมูล

ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) ตัวอย่างฐานข้อมูลบรรณานุกรม

จำนวนทรัพยากรที่ให้บริการยืมเปรียบเทียบสองเดือน ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases) จำนวนทรัพยากรที่ให้บริการยืมเปรียบเทียบสองเดือน

ตัวอย่างฐานข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Database) 2 1 3

ฐานข้อมูลซีดีรอม (CD-ROM) ตัวอย่างข้อมูลในฐานข้อมูลซีดีรอม เช่น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์

ฐานข้อมูลที่ควรรู้จัก 1. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย 2. ABI/INFORM 3. MEDLINE 4. DAO (Dissertation Abstracts Ondisc) 5. ERIC (Education Resources Information Center) 6. AIDS (Acquired immunodeficiency syndrome) 7. SCI (Science Citation Index)

ฐานข้อมูลออนไลน์ในหอสมุด EAU ฐานข้อมูลจัดซื้อ DAO DB ACM DB H.W. Wilson ABI/INFORM กฤตภาคออนไลน์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย (สามารถใช้ได้แบบ CD-ROM หรือแบบ Online แต่ต้องสมัครสมาชิกก่อน) วารสารออนไลน์

DAO

ACM

H.W.Wilson

กฤตภาคออนไลน์