การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
Advertisements

ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
Evaluation of Thailand Master Plan
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 17 สิงหาคม 2553

หัวข้อนำเสนอ พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย 2

พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 3 3

สวทช. ธันวาคม 2534 - จัดตั้งตาม พ.ร.บ.โดยมติ ค.ร.ม. 2535 - สวทช. เริ่มต้นโดยการรวมศูนย์เทคโนโลยีแห่งชาติที่ได้ดำเนินการมาก่อนหน้าแล้ว 3 ศูนย์ (BIOTEC, MTEC และ NECTEC) และการต่อยอดจากโครงการ STDB (2528-2535) 2553 -18 ปีที่ผ่านมา สวทช. สร้างความเข้มแข็งให้ ‘ห่วงโซ่คุณค่า’ ยกระดับความสามารถการแข่งขัน และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้ SMEs ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้สังคมและชุมชน สวทช. เป็นหน่วยงานในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2534 โดย พ.ร.บ.พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารงานโดยคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) เป็นการรวมการดำเนินงานของศูนย์แห่งชาติ 3 ศูนย์ ได้แก่ BIOTEC,MTEC, NECTEC เข้าด้วยกัน และได้จัดตั้งศูนย์ NANOTEC และศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) ขึ้นในเวลาต่อมา สวทช. มีพันธกิจหลักในการวิจัยและพัฒนา ควบคู่กับการดำเนินงานการถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนากำลังคน และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (หรือเรียกว่า 4+1) โดยในช่วง 18 ปีที่ผ่านมา สวทช. พยายามอย่างยิ่งยวดในการสร้างความเข้มแข็งให้ห่วงโซ่คุณค่า โดยยกระดับความสามารถในการแข่งขัน และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ SMEs ก่อให้เกิดการลดต้นทุนในภาคการผลิต ปรับปรุงคุณภาพ ตลอดจนสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและบริการด้วยนวัตกรรม นำไปสู่การสร้างโอกาสทางการตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ การจ้างงานที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนไทย ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ล้วนเป็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อภาคอุตสาหกรรม บริการ และชุมชนชนบทต่างๆ ทำให้เข้มแข็งขึ้นได้อย่างยั่งยืน ตีมูลค่าได้เป็นหลายเท่าของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น

สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ส่วนหนึ่งของ ’ห่วงโซ่’ คุณค่า โดย สวทช. สวทช. ในฐานะ Solution Provider ให้กับอุตสาหกรรมไทย I. อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 2: - Innovation Cluster 2 แล้วเสร็จ >69% (พ.ค. 53); เป้าหมาย ~200 บริษัท สวทช. มีกลไกร่วมมือกับ BOI ให้เอกชนบริจาคให้กองทุน STI สามารถนำไปใช้สิทธิประโยชน์จาก BOI ได้ ภาคเอกชนลงทุนด้านวิจัยเพิ่มขึ้น Impact ที่คาดว่าจะได้รับจาก Innovation Cluster 2 >4000 ล้านบาท/ปี II. มุ่งเน้น วิจัยพัฒนา และถ่ายทอด ทางด้าน : อาหาร และ เกษตร พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม การแพทย์ และ สาธารณสุข ทรัพยากร ชุมชน และผู้ด้อยโอกาส Impact ที่คาดว่าจะได้รับจาก สวทช. >20,000ล้านบาท/ปี III. ทรัพยากรที่ต้องใช้ ~5000 ล้านบาท สำหรับปี 2554 iTAP ยกระดับความสามารถการแข่งขัน และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้ SMEs ด้วย ว. และ ท. (>2000 บริษัท) เครื่องรบกวน/ตัดสัญญาณโทรศัพท์มือถือ ส่งมอบ กอ.รมน. Biodiesel พลังงานทดแทนสำหรับชุมชน DNATEC รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรส่งออก ตรวจ GMO ป้องกันการกีดกันการค้า จดสิทธิบัตรยีนข้าวหอมมะลิ Biodegradable Plastic Compounding and Testing Services แห่งแรกในประเทศไทย พลาสติกคลุมโรงเรือนเพาะชำ บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตผลสดมูลค่าสูง อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 1: มี >60 บริษัท ใน Innovation Cluster 1 (เต็ม) Internet ของประเทศไทย ICT Master Plan ฉบับแรก Y2K SOLARTEC กับการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ TMEC สำหรับอุตสาหกรรม Hard Disk Drive PTEC เพื่อรับรองมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้า ค่ายวิทยาศาสตร์เพื่อเด็ก Software Park ADTEC สำหรับรากฟันเทียม เปิดดำเนินการ อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 1 (โดยมติ ครม. ก.ค. 2534) NANOTEC จัดตั้งโดยมติ ครม. เมื่อธันวาคม 2534 เริ่มต้นด้วยการรวมศูนย์แห่งชาติ 3 ศูนย์ (BIOTEC, MTEC และ NECTEC) และต่อยอดจากโครงการ STDB (2528-2535) ทำงานกับมหาวิทยาลัย พันธมิตร 10 แห่ง เริ่มวิจัย DNA Fingerprint เริ่มวิจัย Embryo Transfer ของโคกระบือ ช่วยอุตสาหกรรมเรื่องทั่วไป สวทช. ดำเนินงานโดยเริ่มต้นจากนักวิจัยเพียงไม่กี่คนในปี 2535 การดำเนินงานจึงเน้นการทำงานกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยในการทำวิจัยและพัฒนา จนถึงปัจจุบันมีนักวิจัยทั้งสิ้น 387 คน และคาดว่า สวทช.จะมีนักวิจัยประมาณ 600 คนในปี 2559 การดำเนินงานที่ผ่านมา สวทช. มุ่งวิจัยและพัฒนาเพื่อผลักดันให้เกิดการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการทำงานร่วมกับหน่วยงานวิจัยอื่นๆ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน เพื่อให้เกิดงานวิจัยและพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการและเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมและธุรกิจต่างๆ ได้อย่างแท้จริง และสร้างผลกระทบต่อชาติทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การวิจัยและพัฒนาด้านพลังงาน (Solarcell,Biodiesel) การเกษตร (พลาสติกคลุมโรงเรือน บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตผลสด) และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (HDD,Y2K,แผน ICT) การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับใช้ในงานด้านความมั่นคง การขับเคลื่อนอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยให้เป็นให้เป็นแหล่งลงทุนด้านการวิจัยของเอกชน และช่วยเหลือด้านการให้คำปรึกษา/แก้ไขปัญหาเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการไทยแล้ว >2,000 บริษัท ในปี 2553 เป็นต้นไป สวทช. มุ่งมั่นที่จะเป็น Solution Provider ให้กับอุตสาหกรรม โดยดำเนินงานโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ระยะที่ 2 เพื่อเป็นศูนย์รวมของการวิจัยและพัฒนาที่ครบวงจร และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเอกชนร่วมลงทุนด้วย มีเป้าหมายจำนวนเอกชนที่เข้าใช้พื้นที่สำหรับทำงานวิจัยประมาณ 200 บริษัท ในปี 2559 (สิ้นแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 5 ของ สวทช.) นอกจากนี้ สวทช. ได้ร่วมกับ BOI ในการให้เอกชนบริจาคเงินแก่กองทุน STI และรับสิทธิประโยชน์จาก BOI ได้ ทั้งนี้คาดว่าเมื่ออุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยระยะที่ 2 เปิดดำเนินการเต็มรูปแบบจะก่อให้เกิดมูลค่าผลกระทบ >4,000 ล้านบาท/ปี สำหรับการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีจะเน้นคลัสเตอร์หลักที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ คือ การเกษตรและอาหาร พลังงานและสิ่งแวดล้อม สุขภาพและการแพทย์ และชุมชน โดยต้องใช้ทรัพยากรในปี 2554 ประมาณ 5,000 ล้านบาท โดยคาดว่าจะก่อให้เกิดมูลค่าผลกระทบ >20,000 ล้านบาท/ปี 2535 2541 2547 2553 2559 นักวิจัย 10 คน นักวิจัย 166 คน นักวิจัย 278 คน นักวิจัย 387 คน นักวิจัย 600 คน

สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคม วิจัยพัฒนาเพื่อการแข่งขันและความยั่งยืน พลังงานและสิ่งแวดล้อม หลังงานหมุนเวียน การจัดการทรัพยากรและประสิทธิภาพพลังงาน รักษ์สิ่งแวดล้อม อาหารและเกษตร ข้าว, มันสำปะหลัง, ยาง เป็น flagship Programs รวมไปถึง เมล็ดพันธุ์, พืชและสัตว์เศรษฐกิจ, บรรจุภัณฑ์, อาหาร, เครื่องจักรกลการเกษตร, Smart Farm, Smart Film การแพทย์และสาธารณสุข โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ การวิจัยการแพทย์ระดับอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการผลิต ทรัพยากร ชุมชน และผู้ด้อยโอกาส หมู่บ้านวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยีการหมักปุ๋ยระบบกองเติมอากาศ, โครงการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท (SiRS), โครงการแม่ฮ่องสอน IT Valley, โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์กลุ่มชุมชนให้ได้มาตรฐาน มผช., เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ Hard Disk Drive ยานยนต์ สวทช. มุ่งการทำงานวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีในคลัสเตอร์หลักที่สำคัญ คือ - การเกษตรและอาหาร : เน้นวิจัยด้านข้าว ยาง เมล็ดพันธุ์ พืชและสัตว์เศรษฐกิจ อาหาร สมาร์ทฟาร์ม สมาร์ทฟิล์ม เป็นต้น - พลังงานและสิ่งแวดล้อม : เน้นการพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ ชีวมวล การเพิ่มผลผลิตพืชพลังงาน โรงงานต้นแบบไบโอดีเซล เป็นต้น - สุขภาพและการแพทย์ : เน้นการพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออก สร้างต้นแบบรวดเร็วทางการแพทย์ รากฟันเทียม ยาต้านไข้หวัดนก และ Smart Health เป็นต้น - ชุมชนและผู้ด้อยโอกาส : ผลักดันให้จำนวนหมู่บ้านวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น เน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน เช่น การทำปุ๋ยหมัก การเพิ่มผลผลิตการเกษตร ยกระดับมาตรฐาน มผช. ดำเนินโครงการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โครงการ iT Valley รวมถึงทำวิจัยและพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ - และมุ่งพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม โดยจัดทำ Regional Innovation System, สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในคลัสเตอร์ที่มีศักยภาพสูง, สนับสนุนการต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์, สนับสนุนการลดภาวะโลกร้อนในอุตสาหกรรม

สวทช. ’ห่วงโซ่คุณค่า’ โดย ว และ ท ตัวอย่างผลงานสำคัญของ สวทช. เกษตรและอาหาร : 1)การปรับปรุงพันธุ์ข้าว โดยใช้ดีเอ็นเอเครื่องหมาย กับการผสมย้อนกลับ 2) พลาสติคสำหรับโรงเรือน 3) บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตผลสดมูลค่าสูง 4) ฟิล์มชะลอการสุก ลดความสูญเสียระหว่างการขนส่ง พลังงานทดแทน : 1) เทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางซิลิกอน 2)เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสง 3) ติดตั้ง PV System 101 ณ ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา จำนวน 36 แห่ง 4) ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง 4 โรงงาน 5) ชุดทดสอบคุณภาพไบโอดีเซลอย่างง่าย สุขภาพและการแพทย์ : 1) ชุดตรวจ H5N1 และ H1N1 แบบ All-in-One 2) ยาต้านไข้หวัดนก (Oseltamivir) – ถ่ายทอดแก่องค์การเภสัชกรรม 3) เทคโนโลยีการสร้างต้นแบบรวดเร็วทางการแพทย์ 4) ชุดน้ำยาตรวจนับ CD4+ lymphocytes แบบใช้กับเครื่องนับเม็ดเลือดอัตโนมัติ 5) ต้นแบบช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม – ยื่นจดสิทธิบัตรแล้ว 6) การวิจัยเพื่อทำยาต้านมาลาเรีย 7) ชุดตรวจธาลัสซีเมียชุดแรกของโลก ตัวอย่างผลงานที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีถึงผู้รับแล้ว : 1)ชุดทดสอบไวรัสโรคกุ้ง แบบ Lamp LFD 2)วัสดุชีวภาพเพื่อทดสอบการตั้งท้องของแม่โค 3)น้ำปลาผง 4)ถุงห่อมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง 5)โมโนโคลนัลแอนติบอดีที่จำเพาะต่อไวรัสโรคกุ้ง 6)เครื่องตรวจวัดกลิ่น (E-nose) 7) ซอฟต์แวร์ช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม Denti Plan เยาวชนที่ได้รับการบ่มเพาะและได้รับรางวัลนานาชาติปี 2553 : 1)เยาวชน JSTP จำนวน 148 คน 2)ได้รับทุนศึกษาต่อ ตปท. 49 คน 3)ตัวแทนเยาวชนไทยเข้าร่วมโครงการ DESY/Lindau 4)ได้รับรางวัลจากโอลิมปิกวิชาการ/Robocup World Championship/ได้รับรางวัลจาก Intel ISEF 5)ผลงานวิจัยตีพิมพ์นานาชาติ Innovation Cluster 2 : กำหนดแล้วเสร็จภายในปี 2554 พื้นที่รวม 124,000 ตร.ม. พื้นที่ใช้สอย 72,000 (สำหรับบริษัทเอกชนเช่า ตร.ม. 30,000 ตร.ม.) ปัจจุบันมีผู้เช่าใน INC1 และอาคารของศูนย์แห่งชาติแล้ว 60 บริษัท (สัดส่วน บริษัทต่างชาติ : ไทย = 30:70)

สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะประโยชน์ (2549 – 2552) 103 65 55 48 48 27 28 26 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากมายที่จะทำให้การถ่ายทอดผลงานประสบผลสำเร็จ สัดส่วนการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์โดยทั่วไปจึงไม่สูงมากนัก - จากภาพรวมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยของ สวทช. พบว่า มีการนำผลงาน สวทช. ไปประยุกต์ใช้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งในด้านจำนวนโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและจำนวนหน่วยงานที่รับการถ่ายทอด ดังจะเห็นได้จากแผนภาพแสดงจำนวนผลงาน สวทช. ที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ ระหว่างปี 2549 – 2552 - ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2553 สวทช. ดำเนินการถ่ายทอดผลงานวิจัยและพัฒนาของ สวทช. ให้แก่สถานประกอบการนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา/ปรับปรุงกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวม 41 แห่ง จำนวน 26 เทคโนโลยี - ตัวอย่างผลงานวิจัยและพัฒนา (เทคโนโลยี) ที่ สวทช. ถ่ายทอดสู่สถานประกอบการในปี 2553 เช่น สารจับตัวน้ำยางประสิทธิภาพสูง, เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ ,นวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม, กระบวนการแยกเนื้อยางออกจากกากตะกอนน้ำยางธรรมชาติสู่เชิงพาณิชย์, ซอฟต์แวร์ช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม เป็นต้น

Vision Mission Core Values สวทช. เป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดีสู่สังคมฐานความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Mission 2+2+1 RDDE TT HRD INFRA Int. Mgt. “สวทช. มุ่งสร้างเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม (RDDE) จนสามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์ (TT) พร้อมส่งเสริมด้านการพัฒนากำลังคน (HRD) และโครงสร้างพื้นฐาน (INFRA) ด้าน ว และท ที่จำเป็น เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยจัดให้มีระบบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานทุกส่วน” Core Values N: Nation First สวทช. จะเป็นกำลังสำคัญในการผลักดันแผนกลยุทธ์ ว และ ท ให้ บรรลุเป้าหมาย ภายใต้ภารกิจตาม พรบ. พัฒนา ว และ ท ที่กำหนดให้ สวทช. มีภารกิจในการสร้างเสริมการวิจัยและพัฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนากำลังคน และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ นอกจากนี้ สวทช. ยังได้มุ่งเน้นการดำเนินงานตามคุณค่าหลัก ได้แก่ Nation first / S&T excellence / Team work / Deliverability / Accountability A: Accountability S: S&T Excellence NSTDA + integrity T: Teamwork D: Deliverability 9

การวางตำแหน่งเชื่อมโยงองค์กร R & d R & D r & D มหาวิทยาลัย สวทช. อุตสาหกรรม Basic Research Technology Development งานวิจัยและพัฒนาร่วมกัน  bridging the gap  adapted from NRC-C slide presentation

คลัสเตอร์วิจัยมุ่งเป้า Platform Technologies ทิศทางการบริหารงานวิจัย (2554-2559) ผลลัพธ์ต่อประเทศ ที่มองเห็นและรับรู้ได้ คลัสเตอร์วิจัยมุ่งเป้า อาหาร/เกษตร พลังงาน/ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ/ การแพทย์ ทรัพยากร/ ชุมชน/ ผู้ด้อย โอกาส อุตสาหกรรม การผลิต Cross-cutting Programs Platform Technologies Biotechnology Materials Technology Electronics & Software Nanotechnology Process Excellence

ความเชื่อมโยงงานของ สวทช. และผลกระทบต่อประเทศ NSTDA SPA ผลกระทบ (impact) National Economic and Social Development Plan แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Science and Technology Strategies ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ่ายทอดผลผลิต ไปสู่ผลลัพธ์ (outcome) Cluster Management ผลผลิต (outputs) NSTDA SPA (Program Based) Program 1 Program 2 Clusters Strategic Sub Clusters Essential programs

มิติการติดตามและประเมินผล คลัสเตอร์ พันธกิจ หน่วยงาน สวทช. หน่วยงาน ศูนย์แห่งชาติ การติดตามและประเมินผล ผลการดำเนินงาน การบริการจัดการ ผลกระทบ หน่วยงาน หน่วยเครือข่าย โปรแกรม โครงการ โครงการ โครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Cluster/Program Management Office (CPMO) National Centers ผลงานวิจัยเชิงวิชาการ Excellence ความเข้มแข็งทางวิชาการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ (ผลงานตีพิมพ์) นวัตกรรมใหม่ (สิทธิบัตร) ผลงานวิจัยเชิงประยุกต์ Relevance นำผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์โดยตรง การตั้งโจทย์วิจัย พิจารณา อุดหนุนวิจัย การวิจัย การประเมิน ผลงาน การนำไปใช้ ประโยชน์ และถ่ายทอด เทคโนโลยี การผลิตและ จัดจำหน่าย การตลาด และการขาย สวทช. เอกชน/ชุมชน Cluster/Program Management Office (CPMO) National Centers กลไกการสนับสนุนภาคเอกชน Licensing / Investment / Loan / Grant 14

หัวข้อนำเสนอ พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย 2 15 15

กรอบเวลาของแผนต่างๆ ที่สัมพันธ์กับ แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) แผนพัฒนาฯ 10 (พ.ศ.2550-2554) (ร่าง) แผนพัฒนาฯ 11 (พ.ศ.2555-2559) ปี พ.ศ. 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (2544-2553) แผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (พ.ศ.2545-2549) แผนกลยุทธ์ สวทช. (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธ์ สวทช. (พ.ศ.2555-2559) กรอบนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ ของประเทศไทย (พ.ศ.2547-2554) อยู่ระหว่างจัดทำ แผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ.2550-2556) แผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีวัสดุแห่งชาติ (พ.ศ.2550-2559) กรอบนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ.2547-2556)

ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547-2556) พ.ร.บ. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2551

กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T 2013) เป้าหมายโดยรวม: สัดส่วนสถานประกอบการที่มีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น 35% และสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการที่ใช้ความรู้ (knowledge-based industries) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศสมาชิก OECD เพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจให้แก่ท้องถิ่น อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าจุดกึ่งกลางของ IMD Core technologies: 1) ICT 2) Biotechnology 3) Material Technology 4) Nanotechnology KBS Core Technologies Enabling Environment National Innovation System (Clusters) Human Resources วิสัยทัศน์: ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันได้ ในสากล มีความมั่นคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม สังคมเรียนรู้ กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T 2013)

อุปสรรคของระบบวิจัยในปัจจุบัน ความมีเอกภาพของระดับนโยบาย การขับเคลื่อนกลไกเพื่อผลักดันนโยบายและติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบายแห่งชาติของหน่วยงานปฏิบัติ ระบบติดตามประเมินผลระดับชาติ การประสานเชื่อมโยงของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย การลงทุนด้านการวิจัยยังไม่เพียงพอ

ความเห็นต่อร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555-2559) ควรประเมินและสรุปผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายฉบับที่ผ่านมา ควรมีบทที่ว่าด้วยวิธีการขับเคลื่อนนโยบายให้บรรลุผลสำเร็จในภาคปฏิบัติ ควรเพิ่มความสำคัญในการผลักดันให้เกิดกลไกการนำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์จริง (ยุทธศาสตร์ที่ 5) กลยุทธ์วิจัยในแต่ละหัวข้อยุทธศาสตร์ มีความกว้างขวางหลากหลาย ครอบคลุมทุกประเด็นวิจัย หากได้จัดลำดับความสำคัญ หรือมีเป้าหมายใหญ่ๆ ที่ชัดเจนจะทำให้การขับเคลื่อนงานวิจัยของประเทศที่ทิศทางที่ชัดขึ้น งานวิจัยที่จะทวีความสำคัญมากขึ้นและภาครัฐควรให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง่เพื่อให้ประเทศมีเทคโนโลยีใช้เองในประเทศ ได้แก่ งานวิจัยด้านการเกษตรและทรัพยากรชีวภาพที่เป็นผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนเครดิต กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนนั้น ควรมีกลยุทธ์ในการผลักดัน โดยจัดทำเป็นโครงการเร่งด่วนที่ท้าทาย (Grand Challenges) ของประเทศ และจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมทำงานจนสำเร็จ 20

a driving force for national science and technology capability ขอบคุณ a driving force for national science and technology capability