การจัดองค์กรเทคโนโลยีสารสนเทศ (Organizing IT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประสานงาน.
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การบริหารกลุ่มและทีม
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดองค์การ.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
KM = Knowledge Management
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Organization Management
Knowledge Management (KM)
The General Systems Theory
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
บทบาทและข้อจำกัดของฝ่ายอำนวยการสำนักงานกฎหมายและคดี
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง PMQA Learning ระดับ 0 No evidence.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การพัฒนาสายอาชีพพนักงาน
การจัดการการถือกำเนิดของเทคโนโลยี (Managing Emerging Technologies)
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Processes)
การวัด การรายงาน และการควบคุม (Measuring, Reporting, and Controlling)
วุฒิภาวะการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ (Strategic Alignment Maturity)
เรียบเรียงจากหนังสือ Laudon, Kenneth C. Management Information System.
การกำกับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance)
บทบาทของผู้บริหารสารสนเทศ (The Role of the CIO)
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
โครงสร้างขององค์การ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
Evaluation of Thailand Master Plan
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
การบริหารองค์กรและบุคลากร
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดองค์กรเทคโนโลยีสารสนเทศ (Organizing IT) เรียบเรียงจากหนังสือ Laudon, Kenneth C. Management Information System. Luftman, Jerry N. Managing the Information Technology Resource. Long, Larry. Management Information System. จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ประสงค์ ปราณีตพลกรังและคณะ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล. ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู้. http://www.msit2005.mut.ac.th/msit_media/1_2549/ITEC2610/Lecture/

ประวัติศาสตร์ของทฤษฎีองค์กร ทฤษฎีองค์กรเกิดมากว่า 3000 ปี The Third Wave : Alvin Toffler คลื่นลูกที่หนึ่ง ยุคเกษตรกรรม คลื่นลูกที่สอง ยุคอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่สาม ยุคสารสนเทศ คลื่นลูกที่สี่ ยุคนวัตกรรม คลื่นลูกที่ห้า ยุคทรัพย์สินทางปัญญา โรงเรียนแห่งแรกถูกก่อตั้งขึ้น ปรับปรุงประสิทธิภาพ (efficiency) ปรับปรุงประสิทธิผล (effectiveness) http://www.oknation.net/blog/print.php?id=458052

หลักการทฤษฎีองค์กรของ Taylor Frederick Winslow Taylor (1856 – 1915) rule-of-thumb methods คือ วิธีที่ต้องมีที่มา อาจอ้างอิงจากประสบการณ์/มีเป้าหมาย การเลือกและการอบรมพนักงานใช้หลักการวิทยาศาสตร์ ความร่วมมือกันของผู้บริหาร พนักงาน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ แบ่งความรับผิดชอบเท่า ๆ กันระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน

หลักการทฤษฎีองค์กรของ Fayol หลักของการแบ่งงานกันทำ ผู้บริหารต้องมีทั้งอำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัยของพนักงาน การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว การมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน การถือประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นรองประโยชน์ส่วนรวม มีการให้ผลประโยชน์ตอบแทน มีการรวมอำนาจไว้ในส่วนกลาง มีการจัดสายการบังคับบัญชา Henri Fayol (1841-1925) มีความเป็นระเบียบ (ผังองค์กร) มีความเสมอภาค มีความมั่นคงในการจ้างงาน มีการริเริ่ม มีความรักใคร่สามัคคีในหมู่คณะ

การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21st เทคโนโลยีใหม่ Internet, Webcams, wireless computing, cell phones พนักงานมีอิสระในการปรับเปลี่ยนองค์กร (ในแง่การทำงาน) Learning exchange, CSR = Corporate Social Responsibility เทคโนโลยีเป็นตัวผลักดันความสะดวกสบายในการสื่อสาร Blog, Webboard, Chat Room, Social Media, Location บทบาทของผู้บริหารและผู้ใต้บังคับบัญชา เปลี่ยนแปลงไป ผู้บริหารรับฟังมากขึ้น การปรากฎโฉมของเทคโนโลยีวีดีโอมีความสำคัญมากขึ้น Youtube.com, Ustream.tv, เรื่องนี้ถึงครูอังคณาแน่

องค์กรเสมือนจริง หรือขยายองค์กรออกไป ฝ่ายผลิต ออกแบบ ขายและการตลาด ขนส่ง การเงิน ไอที

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบแนวตั้ง (Vertical functional stovepipes) โครงสร้างแบบแนวนอน (Horizontal process tunnels) โครงสร้างแบบแมททริกซ์ (Matrix) โครงสร้างแบบองค์กรกลาง (Federated) โครงสร้างแบบทีมเฉพาะกิจ (Adhocracy)

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบแนวตั้ง (Vertical functional stovepipe) พบในองค์กรแบบรวมศูนย์ (centralized organization) แบ่งปันความชำนาญทั่วทั้งองค์กร ความก้าวหน้าในอาชีพและโปรแกรมการอบรมชัดเจน มีการสำรอง อันเนื่องมาจากทักษะที่หลากหลาย ผู้บริหารคุ้นเคยกับงานต่าง ๆ ที่ใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพของพนักงาน ง่ายในการจัดทำให้เป็นมาตรฐาน

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบแนวนอน (Horizontal Process Tunnels) พบในองค์กรแบบกระจายศูนย์ (decentralized organizations) หน่วยต่าง ๆ ถูกสร้างโดยเน้นไปที่งานเฉพาะในสายธุรกิจหนึ่ง ๆ กำหนดลำดับความสำคัญตามความต้องการของผลิตภัณฑ์ / กระบวนการ ต้องการการสื่อสารระหว่างฟังก์ชันมากขึ้น องค์ความรู้ของบุคลากรจะเป็นแบบหลายแง่มุม

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบแมททริกซ์ (Matrix) ใช้ประโยชน์จากแบบ centralized และ decentralized systems ดำเนินการในแบบผู้จัดการหลายคน พนักงานทำงานแบบข้ามสายงานไปมา และมีเจ้านายสองคน ข้อเสีย คือ อาจมีข้อขัดแย้งระหว่างสายงาน

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบองค์กรกลาง (Federated Organizational Structure) รูปแบบของรัฐบาลสหรัฐ (U.S. federal government as model) เป็นได้ทั้งแบบ centralized, decentralized, and matrix forms ข้อเสีย คือ ผู้ใต้บังคับบัญชาอาจมีผู้บังคับบัญชาหลายคน

แบบขององค์กร (Organizational Types) โครงสร้างแบบทีมเฉพาะกิจ (Adhocracy) ประกอบขึ้นจากการรวมตัวชั่วคราว (project-oriented work groups) สามารถปรับจากน้อยไปถึงกลุ่มขนาดใหญ่ กลุ่มทำงานแบบ project-by-project กลุ่มมีการหมุนวนคนในกลุ่ม

แบบของการจัดองค์กร รวมศูนย์/กระจาย ภูมิศาสตร์ ทักษะ/หน้าที่ ชั่วคราว สหรัฐ ไม่สมมาตร

การจัดโครงสร้างองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างตามหน้าที่ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Functional Business Unit Structure)

โครงสร้างตามฝ่าย (Divisional Structure)

โครงสร้างตามหน่วยธุรกิจ (Strategic Business Unit Structure)