Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้ ผศ.บุรินทร์ รุจจน พันธุ์ . ปรับปรุง 5 สิงหาคม 2556 มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง http://www.nation.ac.th
ความหมายของระบบปฏิบัติการ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ ประกอบขึ้นจากชุดโปรแกรมที่ทำ หน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ และ ประสานการทำงานระหว่าง ทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนที่เป็น ซอฟต์แวร์ และส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ ให้เป็นไปย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
ประโยชน์/หน้าที่ ของ OS 1. การติดต่อกับผู้ใช้ (User interface) 2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์ (Control devices) 3. จัดสรรทรัพยากร (Resources management) ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
DOS คอมพิวเตอร์ระดับ ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ใช้ ระบบปฏิบัติการที่จัดเก็บอยู่บนแผ่น บันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ คือ เอ็มเอ สดอส (Microsort Disk Operating System : MS-DOS) ซึ่งพัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟต์คอร์ปอเรชัน แต่ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น Microsoft Windows ซึ่งทำงานใน Graphic Mode ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
Windows วินโดวส์ (Windows) คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) มีลักษณะคล้าย แมค อินทอชโอเอส และมีเป้าหมาย เช่นเดียวกับ Linux, DOS, หรือ OS/2 ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic User Interface) ข้อมูลจาก http://yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_html/chapter7/NT.htm ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
LINUX Linux คือระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นยูนิกซ์ โคลน และมีเป้าหมายเช่นเดียวกับ DOS, Windows 95, Windows NT หรือ OS/2 แต่เป็นซอฟต์แวร์ ภายใต้ลิขสิทธิ์ GPL (GNU Public License) ถูกพัฒนาเริ่มแรกโดย นักศึกษาชื่อ Linus B. Torvalds จาก University of Helsinki ประเทศ Finland ประกอบการเรียน ในวิชาระบบปฏิบัติการ ข้อมูลจาก http://yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_html/chapter7/linux.htm
Name of OS DOS Mint CentOS iOS Windows Ubuntu ClearOS MacOS Symbian Debian Redhat OS/2 Android FreeBSD Fedora Solaris http://distrowatch.com/ http://en.wikipedia.org/wiki/Comparison_of_o perating_systems
คำสั่งภายในของ DOS คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (RAM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
คำสั่งภายนอกของ DOS คำสั่งภายนอก (External Command) คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู่หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น ข้อมูลจาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html