ประเภทของสารประกอบอินทรีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
Electrophilic Substitution of Benzene
ชนิดของ Carbon ในสารประกอบอินทรีย์
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
Introduction to Enzymes
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และอีเทอร์
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีอินทรีย์ แอลดีไฮด์และคีโตน
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
พันธะเคมี Chemical bonding.
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
การเสื่อมเสียของอาหาร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
CARBOHYDRATE.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
Introduction to Metabolism
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารประกอบ.
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ยางพอลิไอโซพรีน.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
Alkynes 1-butyne 2-butyne
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
REACTIONS OF ALKENES : คือปฏิกริยาที่ C=C bond ADDITION
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ โมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์แบ่งเป็น 2 ส่วน หมู่ฟังก์ชันนัล (functional group) เรซิดิว (residue) หมู่ฟังก์ชันนัล เป็นส่วนของโมเลกุลที่ว่องไวในการทำปฏิกิริยา เรซิดิว เป็นส่วนที่เหลือของโมเลกุลไม่ว่องไวในการทำปฏิกิริยา

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ เรซิดิว มักเขียนแทนด้วย R สำหรับเรซิดิวที่เป็นอัลคิล Ar สำหรับเรซิดิวที่เป็นอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เช่น CH3CH2CH2OH หมู่ฟังก์ชันนัลได้แก่ -OH เรซิดิว ได้แก่ CH3CH2CH2 -

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ การแบ่งประเภทของสารประกอบอินทรีย์ตามหมู่ฟังก์ชันนัล หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น อัลคีน RCH=CH2 CH3CH=CH2 (alkene) อัลไคน์ (alkyne)

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น อัลกอฮอล์ (alcohol) อีเทอร์ (ether) อัลคิลเฮไลด์ (alkyl halide)

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น อัลดีไฮด์ (aldehyde) คีโตน (ketone)

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) เอสเทอร์ (ester)

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น เอไมด์ (amide) เอมีน (amine)

ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ หมู่ฟังก์ชันนัล ประเภท สูตรทั่วไป เช่น กรดเฮไลด์ (acid halide) กรดแอนไฮไดรด์ (acid anhydride)

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบอินทรีย์ เรียก A, B ว่า สารตั้งต้น (starting material) และ C, D ว่าสารผลิตภัณฑ์ (product)

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ในปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ บางครั้งจะเรียกสารตั้งต้น ตัวหนึ่งว่า reactant หรือsubstrate และเรียกสารที่เข้าทำปฏิกิริยาว่า reagent ส่วนใหญ่ reagent มักเป็นสารประกอบอนินทรีย์หรือสารประกอบอินทรีย์โมเลกุลเล็ก ๆ

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์จะมีการแตกพันธะซึ่งอาจเป็น 1 พันธะหรือมากกว่า และมีการสร้างพันธะใหม่ 1 พันธะหรือมากกว่า ปฏิกิริยาอาจเกิดขั้นตอนเดียวหรือหลายขั้นตอน การแสดงรายละเอียดของขั้นตอนต่าง ๆ ของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เรียกว่า กลไกของปฏิกิริยา (reaction mechanism)

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ แบบโฮโมไลติก (homolytic cleavage) เป็นการแตกพันธะอย่างสมมาตร กล่าวคือ เมื่อแตกพันธะแต่ละอะตอมจะเอาอิเล็กตรอนไปอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน แบบเฮเทอโรไลติก (heterolytic cleavage) เป็นการแตกพันธะที่อะตอมหนึ่งเอาอิเล็กตรอนไป 2 อิเล็กตรอน และอีกอะตอมหนึ่งไม่มีอิเล็กตรอนเลย ทำให้อะตอมหนึ่งมีประจุบวก อีกอะตอมหนึ่งมีประจุลบ การแตกพันธะของสารประกอบอินทรีย์ อาจเกิดได้ 2 แบบ

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะแบบโฮโมไลติก เรียกว่า ปฏิกิริยาแบบอนุภาคหรืออนุมูลอิสระ (radical or free-radical reaction)

ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาที่มีการแตกพันธะแบบเฮเทอโรไลติก เรียกว่า ปฏิกิริยาแบบไอออนิก (ionic reaction)

สารมัธยันตร์ 1. คาร์โบเคตอิออน (carbocation) หรือ คาร์โบเนียม อิออน (carbonium ion) ใช้ sp2 ไฮบริดออร์บิตัล

สารมัธยันตร์ เสถียรภาพของคาร์โบเคตอิออน (carbocation)

สารมัธยันตร์ 2. คาร์แบนอิออน (carbanion) เป็นคาร์บอนที่มีประจุลบ มีอิเล็กตรอนวงนอก 8 อิเล็กตรอน คาร์แบนอิออน ใช้ sp3 ไฮบริดออร์บิตัล Methyl carbanion

สารมัธยันตร์ เสถียรภาพของคาร์แบนอิออน จะตรงข้ามกับ คาร์โบแคตอิออน

สารมัธยันตร์ 3. เรดิคัลอิสระ (free radical) เป็นคาร์บอนที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว ไม่มีประจุ มีอิเล็กตรอนวงนอก 7 อิเล็กตรอน คาร์บอนที่เป็นเรดิคัลอิสระ ใช้ sp2 ไฮบริดออร์บิตัล

สารมัธยันตร์ เสถียรภาพของเรดิคัลอิสระ

สารมัธยันตร์ 4. คาร์บีน (carbene) เป็นสารมัธยันตร์ของคาร์บอนที่มีเพียง 2 พันธะ มีอิเล็กตรอนวงนอก 6 อิเล็กตรอน คาร์บีนมี 2 ชนิด Triplet carbene Singlet carbene

ประเภทของสารที่เข้าทำปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 1. นิวคลีโอไฟล์ (nucleophile) 2. อิเล็กโตรไฟล์ (electrophile) 3. เรดิคัลอิสระ (free radical)

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 1. ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) 1.1 ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 1. ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) 1.2 ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเล็กโตรไฟล์

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 2. ปฏิกิริยาการเติม (Addition reaction)

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 3. ปฏิกิริยาการขจัดออก (Elimination reaction) 3.1 ปฎิกิริยาการขจัดออกโดยนิวคลีโอไฟล์

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 3.2 ปฏิกิริยาการขจัดออกโดยอิเล็กโตรไฟล์

ประเภทของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 4. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation reaction)

ประเภทของ ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 5. ปฏิกิริยารีดักชัน (Reduction reaction)

ประเภทของ ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 6. ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ (Polymerisation)

ประเภทของ ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ 7. ปฏิกิริยาการจัดตัวใหม่ (Rearrangement reaction)