(Individual and Organizational)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

บทเรียนโปรแกรม Power Point
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
จิตพิสัยบริการ ฐานสู่ความเป็นเลิศ (Service Mind)
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เรารับใช้ชาติ ด้วยการเป็นทหารเรือ.
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
Personality Development
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การสร้างวินัยเชิงบวก
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
เราเป็นผู้นำ.
การจูงใจ(Motivation)
( Human Relationships )
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ทฤษฎีความต้องการของ แมคคลีแลนด์...?
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ที่มา: Causal Process in Criminality in Don C
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การพัฒนาตนเอง.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Individual and Organizational) บุคคลและองค์การ (Individual and Organizational)

สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้  องค์การและระบบสังคม  ธรรมชาติของบุคคลและความแตกต่างของบุคคล  ค่านิยมของบุคคล  ทัศนคติ  บุคลิกภาพและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง  องค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์

ปัจจัยที่สมควรพิจารณาของระบบสังคม การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน วัฒนธรรม พัฒนาการของวัฒนธรรม ปัจจัย พิจารณา ความขัดแย้งของบทบาท บทบาท ความไม่ชัดเจนของบทบาท สถานภาพ

สมมติฐานสำคัญเกี่ยวกับบุคคล ความแตกต่างระหว่างบุคคล ภาพรวมของบุคคล พฤติกรรมเกิดจากการจูงใจ คุณค่าหรือศักดิ์ศรีของบุคคล

ค่านิยม (Value) Milton Rokeach ความเชื่อที่เป็นแนวทางของการแสดงออก (Action) และการใช้วิจารณญาณ (Judgment) ในสถานการณ์ที่ หลากหลายของบุคคล ค่านิยมที่ต่างกันก็จะมีการ แสดงออกที่ต่างกัน โดยค่านิยมจะมีอิทธิพลต่อทัศนคติ การรับรู้ ความต้องการและการจูงใจ ทั้งในชีวิต และ การงานของบุคคล

ประเภทค่านิยมของ Allport และคณะ  ตามแนวทฤษฎี (Theoretical) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญกับการหาความจริงที่สามารถพิสูจน์หรือตรวจสอบได้ตามหลักเหตุผล และการคิดอย่างเป็นระบบ  ตามแนวเศรษฐกิจ (Economic) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญกับการใช้งานและผลประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งมักจะเป็นผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือการสร้างความมั่นคง  ตามแนวความงาม (Aesthetic) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญกับศิลปะ ความงาม รูปแบบ และการแสดงออกที่สอดคล้องกับสถานการณ์

ประเภทค่านิยมของ Allport และคณะ(ต่อ)  ตามแนวสังคม (Social) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญต่อความ ผูกพัน มนุษยสัมพันธ์ และการอยู่ร่วมกันของส่วนรวม ตามแนวการเมือง (Political) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญต่อ การได้มา การธำรงรักษา และการใช้อำนาจเหนือบุคคลอื่น ยกย่องความมีอิทธิพลและอำนาจ ไม่ว่าจะได้มาโดยชอบ ธรรมหรือไม่ก็ตาม ตามแนวศาสนา (Religious) = ค่านิยมที่ให้ความสำคัญต่อ คุณธรรม จริยธรรม ความเชื่อและศรัทธาของบุคคล ตลอดจนการศึกษาและประสบการณ์ เพื่อทำความเข้าใจ และเป็นเอกภาพกับระบบธรรมชาติ

ค่านิยม ตามแนวคิดของ Milton Rokeach ค่านิยมขั้นปลาย  ชีวิตที่มีความสบาย  ชีวิตที่ตื่นเต้น  ความรักที่สมบูรณ์  ความรู้สึกประสบ ความสำเร็จ  ฯลฯ ค่านิยมที่เป็นเครื่องมือ  ความทะเยอทะยาน  ความมีสติปัญญา  ความกล้าหาญ  ความรับผิดชอบ  ความซื่อสัตย์  ฯลฯ

สรุปค่านิยม เป็นรูปแบบของความรู้สึก และความ เป็นรูปแบบของความรู้สึก และความ ประพฤติที่บุคคล หรือกลุ่มบุคคลเห็นว่า เหมาะสมและพอใจจะยึดถือเป็นแนวทาง ปฏิบัติ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับความถูก-ผิด ดี-เลว และคุณค่าในประเด็นต่าง ๆ

ทัศนคติ (Attitudes) ความโน้มเอียงในทางบวกหรือลบที่บุคคล จะตอบสนองต่อเป้าหมายบุคคล หรือ เหตุการณ์ ทัศนคติจะสะท้อนความรู้สึก ของบุคคลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และอยู่รอบตัวเขา เช่น ตนเอง ครอบครัว งาน เพื่อนร่วมงานและสังคม

ทัศนคติ = ระดับความรู้สึกทางจิต  ระดับความชอบ (Affection) เป็นทัศนคติของบุคคล ที่มีต่อสภาพแวดล้อมและบุคคลอื่น ซึ่งก่อให้เกิดความ รู้สึกชอบหรือไม่ชอบ โดยไม่ได้คำนึงถึงเหตุผลเป็นหลัก  ระดับที่มีการพิจารณา (Cognition) เป็นทัศนคติที่เกิดขึ้น จากการประมวลข้อมูลและเหตุผลประกอบการใช้ ภูมิปัญญาและวิจารณญาณของบุคคล สามารถอธิบาย สาเหตุของความรู้สึกได้  ระดับปฏิบัติ (Action) เป็นทัศนคติที่แสดงออกโดยกา กระทำของบุคคล ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยแวดล้อม

แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่าง ค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรม ความเชื่อ  ค่านิยม พฤติกรรมที่จงใจแสดงออก สร้าง อิทธิพล ทัศนคติ

ความสัมพันธ์ระหว่าง สถานการณ์และทัศนคติ สร้าง อิทธิพล สภาพสังคม ข้อมูล ทัศนคติ

ทัศนคติในการทำงาน  ความพึงพอใจในการทำงาน  ความพอใจ = ปัจจัยจูงใจ (Motivators)  ความไม่พอใจในงาน = ปัจจัยธำรงรักษา (Hygiene Factors)  การมีส่วนร่วมในงาน  การผูกพันต่อองค์การ

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ กลุ่มของคุณลักษณะ เช่น การเข้าสังคม ความเปิดเผย ความเครียด ความซื่อสัตย์ ความก้าวร้าว หรือความมุ่งมั่น และคุณสมบัติ ซึ่งสามารถนำมาใช้แสดงความเป็นตัวบุคคล ลักษณะทางพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม

ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ผู้นำคือ Sigmund Freud พฤติกรรม เกิดจาก 1. จิตใต้สำนึก (Unconscious) 2. โครงสร้างของจิต คือ Id , Ego , Superego 3. สัญชาตญาณ 2 ชนิด คือ 3.1 ความตาย หรือ ความก้าวร้าว 3.2 การดำรงชีวิต หรือ แรงขับทางเพศ

ทฤษฎีคุณลักษณะ  ผู้นำคือ Gordon Allport  เป็นทฤษฎีที่ให้ความสนใจกับรูปแบบของคุณลักษณะ ที่เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งแสดงถึงบุคลิกภาพของบุคคล บุคคลจะมีลักษณะทางสังคม การเมือง ศาสนา และ จริยธรรมร่วมกัน แต่จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตน ที่เรียกว่า ตำแหน่งของบุคคล

ทฤษฎีมนุษยนิยม ผู้นำคือ Carl Roger, Abraham Maslow แนวคิดนี้ เน้นมนุษย์มีคุณค่า มีอิสระที่จะ ทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง เป็นทฤษฎีที่ให้ ความสำคัญกับการพัฒนา และการบรรลุ ความต้องการสูงสุดของบุคคล

ทฤษฎีความเป็นผู้ใหญ่ ผู้นำคือ Chris Argyris เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงการพัฒนาบุคลิกภาพ ของบุคคลผ่านประสบการณ์ และประวัติ การทำงาน จากบุคลิกภาพที่ยังไม่สมบูรณ์ เป็นบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ ในมิติต่าง ๆ

แบบจำลองบุคลิกภาพของ Chris Argiris บุคลิกภาพที่ยังไม่สมบูรณ์  ไม่ตื่นตัว  ขึ้นกับบุคคลอื่น  มีพฤติกรรมที่จำกัด  มีความสนใจตื้น  มองเหตุการณ์เฉพาะหน้า  เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา  ไม่ค่อยรู้จักตนเอง บุคลิกภาพที่สมบูรณ์  ตื่นตัว  เป็นตัวของตัวเอง  มีพฤติกรรมที่หลากหลาย  มีความสนใจลึก  มองการณ์ไกล  เป็นหัวหน้า  มีความรู้จักตนเอง

อารมณ์ (Emotions)  อารมณ์ความรู้สึก (Felt Emotions) เป็นอารมณ์ ความรู้สึกที่แท้จริงของบุคคลนั้น  อารมณ์ที่แสดงออก (Displayed Emotions) เป็นอารมณ์ที่ไม่ใช่เป็นธรรมชาติโดยกำเนิด แต่ได้จากการเรียนรู้ภายหลัง ซึ่งเป็นสิ่งที่ องค์การกำหนดให้ผู้นั้นต้องแสดงออก เพื่อให้ เหมาะสมกับแต่ละงานที่ทำ

องค์ประกอบของ ความฉลาดทางอารมณ์ รู้จักอารมณ์ตนเอง จัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จัดการกับอารมณ์ องค์ประกอบ ของความฉลาด ทางอารมณ์ รู้จักและเข้าใจอารมณ์ของบุคคลอื่น มีแรงจูงใจในตนเอง

ทดสอบย่อยรายบุคคล