mca.9204 Information System Management for Tourism and Entertainment

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ภาพลักษณ์และกระบวนการสื่อสารภาพลักษณ์
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
1 ประเด็นคำถามที่ไปศึกษา จงวิเคราะห์ พฤติกรรมทางการเมือง ของกลุ่มประชาชน โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ พฤติกรรมการบริโภคด้าน ต่างๆ ให้นักศึกษา กำหนดโครงสร้าง.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

mca.9204 Information System Management for Tourism and Entertainment Sudin Chaohinfa Administration Communication

brainstorm tools

1. data < gathering / scan 2. information < analysis definition / brainstorm tools level of DATA 1. data < gathering / scan 2. information < analysis 3. message < content 4. media < produce 5. channel < setting

1. data < ผัก ปลา เครื่องปรุง เตา หม้อ มีด เขียง หิว ฯลฯ definition / brainstorm tools 1. data < ผัก ปลา เครื่องปรุง เตา หม้อ มีด เขียง หิว ฯลฯ 2. information < ต้องการ แกงเลียง ต้องใช้อะไรบ้าง 3. message < ลงมือ ปรุงแกงเลียง ชิม OK 4. media <แกงเลียง พร้อมรับประทาน 5. channel < บริการ แกงเลียง ตามสั่ง

ผังความคิด mind map

(1) ค้นหา ความสัมพันธ์ ของความคิดหลัก และ ความคิดรอง definition / mind map การสร้าง mind map (1) ค้นหา ความสัมพันธ์ ของความคิดหลัก และ ความคิดรอง (2) คิดคำพูดสั้นๆ กระชับ (มักใช้ icon แทน) (3) เส้นความคิดหลัก) จากศูนย์กลาง จะโยงสัมพันธ์ ไปยังเส้นความคิดย่อย

definition / mind map

definition / mind map

definition / mind map

definition / mind map / ตัวอย่างการวิเคราะห์ คนหนึ่ง

ต้องการวิเคราะห์ หล่อ เป็นคนดี รวย เก่ง สมชาย รูปธรรม

ข้อมูลระบบ หล่อ เป็นคนดี รวย เก่ง สมชาย รูปธรรม

หล่อ เป็นคนดี รวย เก่ง รูปธรรม (โครงสร้าง-รูปแบบ) Your competence? รูปธรรม (โครงสร้าง-รูปแบบ) Your competence? หล่อ เป็นคนดี รวย เก่ง สมชาย Who are you? Satisfy or not? What, How many Get, Good, God

Image by TIME TEST TANGIBILITY นามธรรม (สาระเด่น) Have – No have Yes – No ความสามารถ Think off Touch by TASTE TRUST TRUTH สมชาย บุคลิกภาพ ฐานะทางสังคม รายได้ หลักทรัพย์ การศึกษา อาชีพ สมรส/โสด ศาสนา วัย เพศ คุณธรรม Image by TIME TEST TANGIBILITY บัณฑิต มหาบัณฑิต

ความเป็นจริง (ปัจจุบัน) นามธรรม (สาระซ่อน) Creativity Ability Competence ความสามารถ Calculate Logics–Algorithm Analysis Techniques Decision–Design–estimated Administration คน องค์กร Adaptability เหตุการณ์ Providing เงิน เครื่องมือ วัตถุดิบ สมชาย ฐานะทางสังคม บุคลิกภาพ Trendy Variety Professional Validity Sufficiency Strong (Physical) Health (Psychological) คุณธรรม –ดี ถูก จริง ประโยชน์ เป็นไปได้ –ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ –สะอาด สร้างสรร สันติภาพ มหาบัณฑิต

สิ่งที่คาดหวัง (อนาคต–ทำนาย) นามธรรม (สาระซ่อน) –Philosophy–Intelligence –Vision–Mission –Aim–Policy –Analysis System –Adjudicatability VALUE Disobedience–Violent Sharpness–Approximately Individual–Public -Meditative (ไตร่ตรอง) -Visible Person สมชาย BRAND TRUST Judgment–Exactly Perfect–Immortal –Mystic Loyalty–Peace Stability (เสถียรภาพ) –emotion –lifestyle –standpoint VIRTUE สมบูรณ์–สมดุล–สุขภาวะ มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต อนัตตตา–อนิจจตา–ทุกขตา–nothing–time–change (not-self–impermanent–oppression)

ตารางเมตทริกซ์ metrix table

ให้นักศึกษา กำหนดโครงสร้าง "คำ" ซึ่งเป็นตัวแปรใน การวิเคราะห์ definition / metrix table ประเด็นคำถามที่ไปศึกษา จงวิเคราะห์ พฤติกรรมทางการเมือง ของกลุ่มประชาชน โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ พฤติกรรมการบริโภค ด้านต่างๆ ให้นักศึกษา กำหนดโครงสร้าง "คำ" ซึ่งเป็นตัวแปรใน การวิเคราะห์

ก. พฤติกรรมทางการเมือง 4 ด้าน definition / metrix table โครงสร้างตัวแปร ในการวิเคราะห์ ก. พฤติกรรมทางการเมือง 4 ด้าน –การใช้ และ การเรียกร้อง สิทธิ –การลงประชามติ รับ คัดค้าน –การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย –จิตสำนึก รับผิดชอบ ต่อส่วนรวม ข. กลุ่มประชาชน 4 กลุ่ม –กลุ่มนักบวช นักปราชญ์ นักวิชาการ –กลุ่มนักการเมือง นักบริหาร นักปกครอง –กลุ่มนักธุรกิจ บริกร ขนส่ง สื่อสาร –กลุ่มพนักงาน กรรมกร กสิกร

ค. พฤติกรรมการบริโภค 4 ด้าน คือ definition / metrix table โครงสร้างตัวแปร ในการวิเคราะห์ ค. พฤติกรรมการบริโภค 4 ด้าน คือ –พฤติกรรมการบริโภคสื่อ ข่าวสาร –พฤติกรรมการบริโภคประจำวัน –พฤติกรรมการเดินทาง พักผ่อน และบันเทิง –พฤติกรรมหลังการบริโภค

วิเคราะห์ด้วยตาราง แม็ทริกซ์ 3 มิติ definition / metrix table พฤติกรรมการบริโภคสื่อ ข่าวสาร– พฤติกรรมการบริโภคประจำวัน– พฤติกรรมการเดินทาง พักผ่อน บันเทิง– พฤติกรรมหลังการบริโภค– –การใช้ และ การเรียกร้อง สิทธิ –การลงประชามติ รับ คัดค้าน –การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย –จิตสำนึก รับผิดชอบ ต่อส่วนรวม –กลุ่มนักบวช ปราชญ์ วิชาการ –กลุ่มนักการเมือง บริหาร ปกครอง –กลุ่มนักธุรกิจ บริกร ขนส่ง สื่อสาร –กลุ่มพนักงาน กรรมกร กสิกร วิเคราะห์ด้วยตาราง แม็ทริกซ์ 3 มิติ

การจัดการความรู้ knowledge management

Knowledge Management การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) [1] ความหมาย การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน ตัวบุคคล เอกสาร สื่อ มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ เกิดการพัฒนาตนเอง

Knowledge Management 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) [1] ความหมาย 1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) -ปรโตโฆษะ -โยนิโสมนสิการ -ประกายความคิด (Explode / Insight Knowledge)

Knowledge Management 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) -ทฤษฎี [1] ความหมาย 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) -ทฤษฎี -สื่อ (คน วัตถุ สถานที่ สิ่งพิมพ์ โทรคมนาคม อิเล็กทรอนิกส์) -ถ่ายทอดเรียนรู้

Knowledge Management 1. พัฒนางาน 2. พัฒนาคน (ผู้นำ ผู้ตาม ผู้ปฏิบัติ) [1] เป้าหมายของการจัดการความรู้ (นพ.วิจารณ์ พานิช) 1. พัฒนางาน 2. พัฒนาคน (ผู้นำ ผู้ตาม ผู้ปฏิบัติ) 3. พัฒนาองค์กร 4. พัฒนาชุมชน-เครือข่าย สังคม สิ่งแวดล้อม = พัฒนาศักยภาพคุณภาพ

Knowledge Management [2] ขอบข่ายของการจัดการความรู้ 1. Theory ความรู้หลัก (ทฤษฎี) ความรู้พื้นฐานจำเป็น 2. Skill ความรู้ที่ต้องการ (ทักษะ) 3. Application ความรู้ประยุกต์ (กลยุทธ์) 4. Implementation การนำความรู้ไปใช้งานจริง (ปฏิบัติ) 5. Supporting Experience การสกัดความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 6. Record packaging knowledge การรวบรวมบันทึกความรู้ ประสบการณ์ ไว้ใช้งาน

Knowledge Management [2]ขอบข่ายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ที่ถูกต้อง จะเกิดผลสัมฤทธิ์ 4 ประการ คือ 1. Responsiveness การสนองตอบ 2. Innovation การมีนวัตกรรม 3. Competency เพิ่มขีดความสามารถของคน องค์กร เครื่องมืออุปกรณ์ 4. Efficiency เกิดประสิทธิภาพ คุ้มทุน คุ้มเวลา คุณภาพ ความสุข = บูรณาการอยู่กับทุกกิจกรรมของการทำงาน

Knowledge Management 1. สัมมาทิฐิ :- 2. ศีลปฏิบัติ -การจัดทีมงาน [3] ลำดับขั้นตอนการจัดการความรู้ 1. สัมมาทิฐิ :- ดี-ชั่ว, จริง-เท็จ, ถูก-ผิด, ประโยชน์สุข-โทษทุกข์, ศิลปะ-อนาจาร, ควร-ไม่ควร, สาระ-ไร้สาระ, เที่ยงธรรม-ลำเอียง, หมด-เหลือ 2. ศีลปฏิบัติ -การจัดทีมงาน -การฝึกอบรม ติดตามต่อเนื่อง -จัดระบบความรู้ 3. อนุรักษ์ -ปรับประยุกต์ บกพร่องแก้ไข ดีแล้วรักษา

1. คน (ร่างกาย จิต จิตวิญญาณ) 2. เทคโนโลยี (เครื่องมือ อำนวยความสะดวก) Knowledge Management [4] องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) 1. คน (ร่างกาย จิต จิตวิญญาณ) 2. เทคโนโลยี (เครื่องมือ อำนวยความสะดวก) 3. กระบวนการความรู้ (ค้นหา ติดตั้ง ถ่ายทอด นวัตกรรม)

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 1. การบ่งชี้ความรู้: ที่มา ความสำคัญ -วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ -ความรู้ใหม่ ความรู้เก่า -ความรู้จากภายนอก ความรู้จากภายใน -ความรู้ที่ต้องรักษา ความรู้ที่ต้องกำจัดออกไป

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ -หมวดหมู่ -คุณค่า คุณประโยชน์ (ความรู้ที่ต้องรักษา ความรู้ที่ต้องกำจัดออกไป) -ชุมชนแห่งความรู้ (หลักสูตร โครงการ โครงงาน แผนปฏิบัติงาน)

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ -ปรับปรุงรูปแบบ -ปรับปรุงเนื้อหา 5. การเข้าถึงความรู้ของผู้ใช้ -วิธีเผยแพร่ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ -วิธีฝึกอบรม -วิธีสร้างสถานการณ์ / โฆษณาชวนเชื่อ / โฆษณาโน้มน้าว

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 6. การแลกเปลี่ยนความรู้ (ช่องทางในการแลกเปลี่ยน) -เอกสาร -ฐานความรู้ -สารสนเทศ -ชุมชนแห่งความรู้ / พี่เลี้ยง / ฝึกงาน / การยืมตัว / เวทีแลกเปลี่ยนความรู้

7 ขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 7. การบูรณาการ องค์ความรู้สู่วิถีชีวิตและการงานอาชีพ

Knowledge Management “การเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข” (นพ.ประเวศ วะสี) การพัฒนาชุมชนต้องมี 4 องค์ประกอบ 1. ชุมชน หมายถึง การอยู่ร่วมกัน 2. เป็นสุข หมายถึง ความสมดุลของ ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ศาสนธรรม ครอบครัว และชุมชน 3. การเรียนรู้ หมายถึง การเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนนั้นๆ ผ่านการปฏิบัติ 4. การสร้างเสริม หมายถึง การเข้าไปส่งเสริม หรือเอื้อให้เกิด การเสริมพลัง (empower) ไม่ใช่เข้าไปสอนหรือถ่ายทอด ความรู้

ของดีก่อนจาก ของฝากก่อนลา “ทุกข์” มีไว้ให้ “เห็น” มิใช่มีไว้ให้ “เป็น” “สุข” มีไว้สำหรับ “เป็น” แม้จะ ไม่เห็น “ทุกข์” คือ ต้นทุน ในการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา “สุข” คือ กำไร ที่ได้รับจาก การแก้ปัญหา ทั้ง ทุกข์ และ สุข เป็นเพียง “ความรู้สึก” ที่เห็นได้ และ เป็นจริง แต่ “ความรู้สึก” เป็น อารมณ์ที่ แปรปรวน การกำจัด “อารมณ์แปรปรวน” เสียได้ คือ “สมาธิ” ดังนั้น “สมาธิ” จึงปราศจาก ทั้ง สุข และ ทุกข์. สู่ดิน ชาวหินฟ้า นำคำนำคิด ในหนังสือ คมคม คำคิดดี 37