สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
เป้าหมายความคาดหวัง สร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2555 ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ เขต 3 21 มีนาคม 2555 ณ ศวพ.สุรินททร์
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 พค 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ

ประเด็นการนำเสนอ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 1. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ 2

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนผู้ป่วย 1,163 ราย อัตราป่วย 80.07 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 38 ของประเทศ และลำดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เสียชีวิต 1 ราย (ร้อยละ 0.09) แหล่งข้อมูล ศูนย์ระบาดวิทยา สสจ.ศรีสะเกษ(19 ตค. 55) 4 4

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 6 6

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 7 7

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 8 8

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร 9 9

***ภส./ขห./กล./รษ./เมืองฯ/กร./อพ./พยุห์/ขข./นก.*** การดำเนินงานในปี 2555 1. มีการรณรงค์ 2. สุ่มประเมินความชุกลูกน้ำยุงลายปีละ 2 ครั้ง 3. ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย 4. ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการดำเนินงาน (อปท.สนับสนุนสารเคมี) 5. RANKING ***ภส./ขห./กล./รษ./เมืองฯ/กร./อพ./พยุห์/ขข./นก.*** ***เสียชีวิต 1 ราย*** 10

ถือเป็นวาระของจังหวัดศรีสะเกษ การดำเนินงานในปี 2556 ถือเป็นวาระของจังหวัดศรีสะเกษ 11

แนวทางการดำเนินงานในปี 2556 1. การรณรงค์ 4 ครั้ง -ครั้งที่ 1 วันที่ 2-8 ธันวาคม 2555 -ครั้งที่ 2 วันที่ 10-16 มีนาคม 2556 -ครั้งที่ 3 วันที่ 9-15มิถุนายน 2556 -ครั้งที่ 4 วันที่ 11-17 สิงหาคม 2556 2. ตำบลจัดการไข้เลือดออกดีเด่น 1 ตำบล/1 อำเภอ 3. ประเมินโครงการ “ผ้าตาข่าย ลดโรคไข้เลือดออก” -รายงานเดือนละ 1 ครั้ง -สุ่มประเมินโดยจังหวัด (มค./กค.) 4. นิเทศติดตาม 5. การพัฒนาศักยภาพ/ conference case 6. การตรวจเลือดวิเคราะห์

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ

ไม่มีผู้ป่วยมาตั้งแต่ปี 2547-2555 สถานการณ์โรคคอตีบ ไม่มีผู้ป่วยมาตั้งแต่ปี 2547-2555 2539 = 1ราย 2540 = 1 ราย = 1 ราย 2546 = 1 ราย

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 95.16 นักเรียน ป.1 ร้อยละ 98.82 นักเรียน ป.6 ร้อยละ 98.49

แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ 1. ทบทวนตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน 2. ทบทวนองค์ความรู้เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 3. แจ้งผู้บริหารในที่ประชุม คปสจ. 4. ประชุมเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ /ตำบล 5. เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค 6. สื่อสารแจ้งเตือนเจ้าหน้าที่/ภาคีเครือข่าย/ประชาชน 7. พบผู้ป่วยแจ้งจังหวัดตลอด 24 ชั่วโมง /ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ภายใน 3 ชม.

แนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 1. กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจน 2. ตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน 3. บริหารวัคซีน/ระบบลูกโซ่ความเย็น 4. เฝ้าระวังภาวะ AEFI /ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มพิเศษ 5. ประเมินมาตรฐานการดำเนินงานปีละ 2 ครั้ง (ตามแบบฟอร์มกรมควบคุมโรค)

สวัสดี ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี สวัสดี