สมชาย สมผดุง สถาบันบัณฑิตนบริหารศาสตร์ 18 กรกฎาคม 2546 UNION OPAC สมชาย สมผดุง สถาบันบัณฑิตนบริหารศาสตร์ 18 กรกฎาคม 2546
ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง Web Portal MetaSearch Z39.50
Web Portal Web Site ที่ประกอบด้วยบริการและทรัพยากรหลายอย่าง เช่น Email, Search Engine, Forum, etc. ตัวอย่าง เช่น hotmail, altavista, google, etc.
MetaSearch Engine Search Engine ที่นำคำถาม (Query) ของผู้ใช้ไปสอบถาม Search Engine อื่น แล้วนำผลลัพธ์มารวมกัน เพื่อนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม Search Engine QUERY QUERY RESULT MetaSearch Engine RESULT COMBINDED RESULT Search Engine QUERY
MetaSearch Engine : WebFerret
สถาปัตยกรรม Web Search Web Har-vester Web Server Source Docu-ments 1. Fetch words 3. Fetch documents Web Index 2. Search index Index Search Web Server Web Browser
Z 39.50 Protocol ความหมาย เพื่อใช้สืบค้นสารสนเทศระยะไกล International Standard Network protocol หรือข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรูปแบบและกระบวนการในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์หลัก เพื่อใช้สืบค้นสารสนเทศระยะไกล ให้เป็นอิสระจากระบบของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เน้นในกลุ่มของงานห้องสมุดหรืองานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ Z 39.50 Library of congress Z3950 Implementer's group National International Standard Organization American Nationals Standard Institute International Standards Organization
สถาปัตยกรรมของ Z39.50 Biblio. Etc. Z39.50 Client (Origin) Z39.50 Server (Target) Biblio. Z-Association Query FullText Z-Speak Result Result Etc. Traditional Client/Server
จุดเด่นของ Z 39.50 ได้ Z-Client รุ่นใหม่สามารถส่ง Z-Speak ไปยัง Z-Server ได้หลายแหล่งในเวลาเดียวกัน ใช้ MARC เป็นรูปแบบพื้นฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล สามารถสร้างบริการเพิ่มเติมได้ง่าย เพราะสนับสนุนกิจกรรมหลายอย่าง เช่น Search, Delete, Sort, Limit Access, Browse, Help, etc.
การใช้ประโยชน์ Z 39.50 Bibliographic record sourcing Distributed Union Catalogues Inter-Library Loan (ILL) Selective Dissemination of Information Web Searching and Filtering :- ZAP-Apache) Etc.
Web และ Z39.50 สืบค้นสารสนเทศโดย Z39.50 Services สื่อสารด้วย HTTP protocol XML Transfer Syntax XSL based Query Language (XQL) RDF ใช้ในการพรรณนาทรัพยากรและความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากร Z39.50/HTTP + XML+ RDF + DOM + XQL อาจเป็นแนวทางการสืบค้นสารสนเทศสำหรับอนาคต
Z39.50 : Web GateWay Web Server+ Z39.50 Gateway (Z Server/Z Client) HTTP Web Server+ Z39.50 Gateway (Z Server/Z Client) Web Browser Z Server Z Server Z Server
รู้จักกับ XML XML ย่อมาจาก Extensible Markup Language ใช้หลักการเดียวกันกับ HTML แต่เน้นการสื่อความ ไม่เน้นการเสนอรูปแบบ XML เป็นภาษาที่เหมาะกับการพรรณนาทรัพยากรสารสนเทศ XML เป็นภาษาที่มีความอ่อนตัวสูง สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่าง
XML vs. HTML <H2>Contact Information</H2> <P>Name : Somchai Somphadung</P> <P>Office : National Insitute of Development Administration</P> <P>Tel : 0-2727-3000 ext. 3540</P> HTML <Contact_Information> <Name>Somchai Somphadung</Name> <Office>National Institute of Development Administration</Office> <Tel>0-2727-3000 ext. 3540</Tel> </Contact_Information> XML
การแลกเปลี่ยนสารสนเทศด้วย XML CLIENT นำเสนอเอกสารและ เพิ่มเติมบริการอื่น เช่น คำนวณ เรียงลำดับ Server สร้าง XML Document DATABASE XML
การทำงานของ NIDA’s OPAC Gateway สร้าง User Interface วิเคราะห์ URL SE’s Names Terms Metadata Search Engines’ Metadata สร้าง Query รูปแบบ Query Query แสดงผลลัพธ์ Query
องค์ประกอบของ URL SERVICE HOST URL PORT FILE LOCATION QUERY PARAMETER
รูปแบบทั่วไปของ Query ใน URL Query = ?parameter1 = value¶meter2 = value&… เช่น ?session=58&title=Design of Library Automation&author=M. Cooper&…
ตัวอย่างการวิเคราะห์ http://library.car.chula.ac.th/search/a?SEARCH=somchai 1 3 4 2 1 Service = HTTP 2 Host = library.car.chula.ac.th 3 File location = /search/ 4 Query parameter = a?SEARCH=somchai
Query ของWEBPAC Query = {เขตข้อมูล} + ? SEARCH + {คำค้น} http://intanin.lib.ku.ac.th/search/t?SEARCH=knowledge management 1 t แทนเขตข้อมูล “Title” 2 SEARCH เป็นตัวแปรเก็บค่าของคำค้น (Term) นำด้วย “?” 3 Term ของผู้ใช้คือ “knowledge management” Query = {เขตข้อมูล} + ? SEARCH + {คำค้น}
Simple Query ของ IPAC ?session=1L57475U9M171.1106& menu=search& aspect=basic_search& npp=10& ipp=20& profile=pridi& ri=1& source=192.150.249.123@%21tudb& index=AUTHOR& term=somchai& x=11& y=9#focus Ignorant Selective
Simple Query ของ IPAC ?{index=เขตข้อมูล}&{term=คำค้น} เช่น http://202.28.16.3/ipac.jsp?index=author&term=somchai
Query ของ VTLS เช่น ? {searcharg=คำค้น} &{searchtype=เขตข้อมูล} ?searcharg=java& searchtype=title& Submit2=%A4%E9%B9%CB%D2 Selective Ignorant ? {searcharg=คำค้น} &{searchtype=เขตข้อมูล} เช่น http://202.28.16.3/cgi-bin/vtls.web.gateway/? searcharg=somchai&searchtype=author
แฟ้ม Metadata จัดเก็บในรูปแบบ XML Document ใช้ Dublin Core Element รวมกับ Element ที่กำหนดขึ้นเอง
โครงสร้างแฟ้ม METADATA เพิ่มเติมได้ Site SiteAlias Identifier Contributor Database Collection Engine DbId RecordFormat Title Subject Author Keyword
ตัวอย่าง <SS:Site> <DC:Identifiers>http://202.28.16.1/search/</DC:Identifiers> <DC:Contributor>สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์</DC:Contributor> <SS:SiteAlias>nida</SS:SiteAlias> <SS:Database> <SS:Collection>Main Catalog</SS:Collection> <SS:DbId>-</SS:DbId> <SS:Engine>webpac</SS:Engine> <SS:RecordFormat> <SS:Title>t</SS:Title> <SS:Author>a</SS:Author> <SS:Subject>d</SS:Subject> <SS:Word>w</SS:Word> </SS:RecordFormat> </SS:Database> </SS:Site>
ทำไมเลือก XML ปรับเปลี่ยนโครงสร้างได้ง่าย เอกสารแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งเป็นอิสระต่อกัน ทำให้กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสมกับ Search engine หลายแห่งภายในเอกสารเดียวกันได้ เป็นอิสระจากโปรแกรม ทำให้สามารถนำเอกสารเดียวกันนี้ไปใช้กับโปรแกรมอื่นได้ เป็นอิสระจากระบบปฏิบัติการ ตามทฤษฎีแล้วสามารถนำเอกสารเดียวกันนี้ไปใช้งานได้ทั้ง Unix และ Windows พัฒนาต่อได้ง่าย***
ข้อจำกัดของโปรแกรม พัฒนาด้วย JavaScript ทำให้มีขีดความสามารถจำกัด ใช้ได้กับเฉพาะ IE 5.5 ขึ้นไป หรือ IE ที่ติดตั้ง msxml เท่านั้น การนำเอา Metadata ไปใช้กับโปรแกรมอื่นอาจมีปัญหาได้ เพราะ XML Parser บางรุ่นยังไม่สนับสนุนภาษาไทย พัฒนามาเพื่อเป็น Web Service ทำให้ต้องการทรัพยากรในการติดตั้ง
ข้อจำกัดของโปรแกรม ปัจจุบันใช้ได้กับ Webpac Ipac Websis VTLS
DEMO + Q&A