แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
ที่กิจกรรมสถานที่ ดำเนินการ วันที่ ดำเนินกา ร หมาย เหตุ 1 ส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถิ่น ฯ 4 ตำบล 3-6 ก. ค ส่งเสริม ให้คำแนะนำ การจัดเก็บข้อมูล.
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานของจังหวัด
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ITกับโครงการ Food safety
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ห้วงเวลาดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล และระดับจังหวัด 18 ก. พ. – 31 มี. ค. 55 รับลงทะเบียน กศน./ พช. 1 มิ. ย. 55 ประกาศรายชื่อสมาชิกฯ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557 นายอำนาจ สุขอยู่ หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน ปี 2557

มติคณะรัฐมนตรี และนโยบาย มท. คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2555 เห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทยเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบตัวชี้วัด ที่ 1.1.6 รายได้ครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ซึ่งในการดำเนินการตามตัวชี้วัดดังกล่าว ต้องดำเนินการจัดเก็บข้อมูล ปี 2557 ทั้งในเขตชนบทและเขตเมือง เพื่อวัดประเมินผล กระทรวงมหาดไทย กำหนดเป็นนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดเก็บและใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นและการวางแผนในทุกระดับ โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอ และจังหวัด รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2557

ทุกครัวเรือนในเขตชนบท ระยะเวลาในการจัดเก็บ พื้นที่เป้าหมาย ในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ทุกครัวเรือนในเขตชนบท (อบต. และเทศบาลตำบลที่ยกฐานะจาก อบต.) ระยะเวลาในการจัดเก็บ ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน และตำบล มกราคม – มีนาคม 2557

จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว ต้องนำเสนอในที่ประชุมระดับตำบล การจัดส่งข้อมูล จปฐ. ทุกระดับ ต้องส่งแบบคำรับรองข้อมูล จปฐ. ด้วย ระดับตำบล แบบคำรับรองฯ หมายเลข 1 ระดับอำเภอ แบบคำรับรองฯ หมายเลข 2 ระดับจังหวัด แบบคำรับรองฯ หมายเลข 3

แนวทางการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 1. เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล (ต.ค.–ธ.ค. 56) 1.1 จัดทำ ปรับปรุงคำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ และคณะทำงานติดตามฯ ทุกระดับ 1.2 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ ประชุมเตรียมการ วางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 1.3 พัฒนากรผู้ประสานงานตำบลและผู้นำ อช. ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระดับตำบล

2. จัดเก็บ/บันทึกประมวลผลข้อมูล จปฐ. (ม.ค.–มี.ค.57) 2.1 เริ่มจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เดือน มกราคม 2557 (ไม่จัดเก็บก่อนกำหนด) 1) ผู้จัดเก็บ จัดเก็บทุกครัวเรือนคนละประมาณ 20 ครัวเรือน และตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล 2) หัวหน้าทีมผู้จัดเก็บ จปฐ. ของหมู่บ้าน รวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดส่งให้พัฒนากร/ผู้บันทึกข้อมูล

2.2 บันทึกประมวลผล และนำเสนอระดับตำบล 1) ผู้บันทึกฯ บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. ทุกครัวเรือน และตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน 2) พัฒนากร และผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. นำเสนอผลข้อมูล จปฐ. ต่อที่ประชุมระดับตำบล เพื่อรับทราบและร่วมตรวจสอบ/ปรับปรุง/แก้ไข/ยืนยันผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. นำไปใช้ประโยชน์และสำเนาข้อมูลทั้งหมด ส่งให้อำเภอ พร้อมคำรับรองข้อมูล จปฐ. หมายเลข 1 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2557 3) พัฒนากร และผู้นำ อช. นำผลข้อมูลกรองลงในโปสเตอร์สรุปผล จปฐ. ระดับหมู่บ้าน เพื่อนำไปติดไว้ที่หมู่บ้าน/ชุมชน

3. ติดตาม ตรวจสอบ และประมวลผลข้อมูล 3.1 อำเภอ ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูล จปฐ. เป็นภาพรวมของอำเภอ แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้จังหวัด และคำรับรองฯ หมายเลข 2 ภายใน 11 เม.ย. 2557 3.2 จังหวัด ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูล จปฐ. เป็นภาพรวมของจังหวัด แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้กรมฯ และคำรับรองฯ หมายเลข 3 ภายใน 22 เม.ย. 2557

งบประมาณที่กรมฯ สนับสนุนจังหวัด/อำเภอ 1) ค่าจัดเก็บข้อมูลฯ 2) ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ 3) ค่าประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บฯ (1 คน : 20 คร.) 4) ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. (ตำบลละ 1 คน) 5) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับจังหวัด 6) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับอำเภอ 7) ประชุมคณะทำงานบริหารจัดเก็บฯระดับจังหวัด 8)นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับตำบล 9)นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับจังหวัด 10) ส่งเสริมประสิทธิภาพจัดเก็บและใช้ประโยชน์ของ อปท.

แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557

การบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย และระยะเวลาจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน กิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชน ให้การสนับสนุน การดำเนินการของ อปท. (เขตเมือง) แนวทางการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน การรายงานผลความก้าวหน้า 1 2 3 4 5

จำนวน 30,722 ครัวเรือน เป้าหมายในการจัดเก็บข้อมูล ทุกครัวเรือนในเขตเมือง (เทศบาลเมือง และเทศบาลตำบล (ที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) จำนวน 18 แห่ง 139 ชุมชน จำนวน 30,722 ครัวเรือน ระยะเวลาในการจัดเก็บ ในระดับครัวเรือน ชุมชน และ อปท. มกราคม – มีนาคม 2557

กิจกรรมที่ พช. สนับสนุน/ดำเนินการ พช. (ส่วนกลาง) สนับสนุน 8 กิจกรรม 1. จัดประชุมชี้แจงการบริหารการจัดเก็บข้อมูล พื้นฐานแก่ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด 2. แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานทั้งหมด 3. โปสเตอร์สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับชุมชน 4. เอกสารแนวทางการจัดเก็บข้อมูลฯ 5. คู่มือการจัดเก็บข้อมูลฯ 6. คู่มือการใช้โปรแกรมบันทึกประมวลผลข้อมูลฯ 7. แผ่น CD โปรแกรมบันทึกข้อมูลฯ 8. สนับสนุนค่าติดตามนิเทศของคณะทำงานฯ ส่วนกลาง

พช. จังหวัด/อำเภอ สนับสนุน 5 กิจกรรม ดำเนินกิจกรรม 1. ประชุมชี้แจงการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ อปท. ละ 2 คน 2. ฝึกอบรมผู้บันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ อปท.ละ 1 คน 3. สนับสนุนค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ 4. สนับสนุนค่าติดตามนิเทศของคณะทำงานฯ ระดับจังหวัด 5. สนับสนุนค่าติดตามนิเทศของคณะทำงานฯ ระดับอำเภอ ให้การสนับสนุนด้านวิชาการและคำปรึกษาอื่นๆ แก่ อปท. เพื่อให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและมีคุณภาพ

3.อปท. ดำเนินการเอง 3 กิจกรรม (ใช้งบฯของ อปท.) 3.อปท. ดำเนินการเอง 3 กิจกรรม (ใช้งบฯของ อปท.) 1) ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 2) จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทุกครัวเรือน 3) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ต่อที่ประชุมของ อปท.

2. ดำเนินการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล 4. แนวทางการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 2. ดำเนินการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล (มกราคม-มีนาคม, เมษายน) ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ทุกครัวเรือน บันทึกและประมวลผลข้อมูลฯทั้งหมด นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลฯต่อที่ประชุมของ อปท. นำผลการจัดเก็บฯ กรอกลงในโปสเตอร์สรุปผลฯ คณะทำงานฯ ระดับอำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ประมวลผล คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ประมวลผล 1. เตรียมการและวาง (ตุลาคม – ธันวาคม) จัดทำคำสั่ง ปรับปรุงคณะทำงานฯ ทุกระดับ วางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ จัดทำแผนปฏิบัติการการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 3. ติดตามประเมินผลและนิเทศ คณะทำงานฯ ทุกระดับ ติดตามประเมินผล และนิเทศการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ทันที

4. แนวทางการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน 4.1 เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน (ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม) 1) จัดทำคำสั่ง ปรับปรุงคณะทำงานบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลฯ ทุกระดับ ให้สามารถดำเนินการครอบคลุมทั้งในเขตชนบทและเขตเมือง 2) วางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ 3) นักพัฒนาชุมชนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่นักพัฒนาชุมชนของแต่ละ อปท.(เขตเมือง) ร่วมกับ พช.อำเภอ จัดทำแผนปฏิบัติการการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน

4.2 จัดเก็บ บันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ (ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม) 1) อปท. (เขตเมือง) ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทุกครัวเรือน โดย พช.อำเภอ ให้คำปรึกษาแนะนำ 2) พช. อำเภอ ร่วมกับ อปท. (เขตเมือง) ดำเนินการบันทึกและประมวลผลข้อมูลพื้นฐานทั้งหมด 3) อปท. (เขตเมือง) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานต่อที่ประชุมของ อปท. เพื่อรับทราบ ตรวจสอบ และใช้ประโยชน์ รวมทั้งสำเนาข้อมูลฯ และคำรับรอง หมายเลข 1 ส่งให้อำเภอ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2557

4) นักพัฒนาชุมชนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายฯ ของอปท 4) นักพัฒนาชุมชนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายฯ ของอปท. (เขตเมือง) นำผลการจัดเก็บข้อมูลกรอกลงในโปสเตอร์สรุปผลฯ ระดับชุมชน เพื่อนำไปติดไว้ที่ศูนย์เรียนรู้ของชุมชน หรือในที่ชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ได้รับทราบ และร่วมกันแก้ไขปัญหาต่อไป 5) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บฯ ระดับอำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลฯ ของแต่ละอปท. เขตเมือง) ประมวลผลเป็นภาพรวมของอำเภอ และนำเสนอผลในที่ประชุมระดับอำเภอ เพื่อรับทราบ ตรวจสอบ และใช้ประโยชน์ รวมทั้งสำเนาข้อมูลฯ และคำรับรอง หมายเลข 2 ส่งให้จังหวัด ภายในวันที่ 11 เมษายน 2557

6) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บฯ ระดับจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลฯ ของแต่ละอำเภอ ประมวลผลเป็นภาพรวมของจังหวัด และนำเสนอผลในที่ประชุมระดับจังหวัด เพื่อรับทราบ ตรวจสอบ และใช้ประโยชน์ รวมทั้งสำเนาข้อมูลฯ และคำรับรองหมายเลข 3 และรายงานร้อยละของตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์เรียงลำดับจากมากไปน้อย (รายงานที่ 5.6) ส่งให้กรมการพัฒนาชุมชน ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ พชช. ภายในวันที่ 22 เมษายน 2557

4.3 ติดตามประเมินผล และนิเทศ (ทันทีเมื่อเริ่มดำเนินการจัดเก็บ) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ ทำการติดตามประเมินผล และนิเทศการจัดเก็บข้อมูลฯ ทันที เมื่อเริ่มดำเนินการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้อมูล โดยยึดตามแผนปฏิบัติการ การบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานของ อปท.(เขตเมือง) เป็นปฏิทินหลักในการติดตามประเมินผล

5. การรายงานผลความก้าวหน้า จังหวัด(พช.) รายผลความก้าวหน้า ในการบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานให้กรมการพัฒนาชุมชนทราบ จำนวน 2 ครั้ง ตามแบบรายงาน และระยะเวลาที่กำหนด ข้อมูล ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 ข้อมูล ณ วันที่ 27 มีนาคม 2557 รายงานงบประมาณที่ อปท.(เขตเมือง) ใช้ในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557 ตามแบบรายงานที่กำหนด ภายใน 30 เมษายน 2557

ข้อมูลการมีส่วนร่วมระหว่างคนในชุมชน กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคผนวก 2 ข้อมูลการมีส่วนร่วมระหว่างคนในชุมชน กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ ตัวชี้วัด/คำถาม 1. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมกับ อปท. ทำงานร่วมกับ อปท. 2. คนในครัวเรือนไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกของ อปท. 3. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมรับฟังแนวทางการทำงานของ อปท. 4. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมประชุมประชาคม เพื่อร่วมจัดทำแผนฯ 5. ความต้องการที่จะให้ อปท. ดำเนิการในชุมชน 24 ข้อมูล จปฐ. เขตชนบท และเมือง_วาทกานต์ ช่อแก้ว

ภารกิจที่จังหวัด(พช.+สถ.) และ อปท.เขตเมือง ต้องดำเนินการต่อ กรมฯ จัดประชุมชี้แจงจัดเก็บข้อมูลฯ ปี 2557 11-13 ธ.ค.56 กทม. (พช. ดำเนินการ) 1 จังหวัด จัดประชุมชี้แจงจัดเก็บข้อมูลฯ จนท.อปท. ละ 2 คน ตั้งแต่ 16 ธ.ค.56 เป็นต้นไป (สพจ. ดำเนินการ) 2.1 จังหวัด จัดฝึกอบรมผู้บันทึกประมวลผลข้อมูลอปท.ละ 1 คน 2.2 อปท. จัดประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูล ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน หลังกิจกรรมที่ 2.1 (อปท. ดำเนินการ) (สถจ./สพจ. สนับสนุน) 3 อปท. ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน หลังกิจกรรมที่ 3 4 จังหวัด/อำเภอ ดำเนินการบันทึกประมวลผลข้อมูลทุกครัวเรือน ของทุก อปท. หลังกิจกรรมที่ 4 (สพจ./สพอ. +อปท./สถจ.ดำเนินการ) 5 อปท. ดำเนินการนำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลฯ ต่อที่ประชุม อปท. หลังกิจกรรมที่ 5 6

ข้อมูลดีมีคุณภาพ - ข้อมูล จปฐ./พื้นฐาน - ข้อมูล กชช. 2ค - อื่น ๆ บำบัดทุกข์ บำรุงสุข จังหวัด อำเภอ อปท. มท. ข้อมูลดีมีคุณภาพ - ข้อมูล จปฐ./พื้นฐาน - ข้อมูล กชช. 2ค - อื่น ๆ วางแผนการพัฒนาฯ ประเมินผล - คุณภาพชีวิตของประชาชน - ระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน 1 2 3

เส้นทางการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557 กรมการพัฒนาชุมชน ตรวจสอบ/ประมวลผลฯ เผยแพร่ จังหวัด แยกตรวจสอบ/ และประมวลผลฯ ข้อมูล จปฐ. ข้อมูลพื้นฐาน ส่งให้กรมฯ 22 เม.ย. 57 ก.พ. - มี.ค. 57 นำเสนอผล ข้อมูล จปฐ. ที่ประชุมตำบล ข้อมูลพื้นฐาน ที่ อปท. เขตเมือง ผู้บันทึก 1 บันทึกข้อมูล จปฐ. ผู้บันทึก 2 บันทึกข้อมูลพื้นฐาน อำเภอ แยกตรวจสอบ/ และประมวลผลฯ ข้อมูล จปฐ. ข้อมูลพื้นฐาน ส่งให้จังหวัด 11 เม.ย. 57 - คณะทำงานฯ ทุกระดับ ประชุมเตรียมการ ต.ค. 56.- ม.ค. 57 จังหวัดประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง - จังหวัดฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลฯ - อำเภอประชุมชี้แจง ผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. อปท.เขตเมือง ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ม.ค. - มี.ค. 57 ผู้จัดเก็บ จัดเก็บข้อมูล จปฐ. จัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน เริ่ม - ปรับปรุงคณะทำงานฯ ทุกระดับใหม่ - กำหนดพื้นที่ คนจัดเก็บ คนบันทึกฯ โดยทำเป็นคำสั่ง