การจัดทำคำรับรองและ การติดตามประเมินผลจังหวัด 28 พฤศจิกายน 2555
ที่มา 1 การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด 2 การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย 1 ที่มา หลักธรรมาภิบาล Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ประสิทธิภาพ Efficiency ความคุ้มค่าของเงิน Value-for-Money ประสิทธิผล Effectiveness คุณภาพ Quality ภาระรับผิดชอบ Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมของประชาชน Participation เปิดเผยโปร่งใส Transparency ตอบสนอง Responsiveness กระจายอำนาจ Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย นิติรัฐ Rule of law 4
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น กระจายอำนาจตัดสินใจ อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน รับผิดชอบต่อผลของงาน
ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน พระราชกฤษฎีกาฯ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกิดประโยชน์สุข ของ ประชาชน มีการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ อย่างสม่ำเสมอ เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อ ภารกิจของรัฐ เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับการ อำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 6 6
Strategic Business Unit Scorecard กระทรวง/กรม Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล แผนปฏิบัติราชการ (4ปี) กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Strategic Business Unit Scorecard กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) กระทรวง กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting
ตัวอย่าง มิติด้านประสิทธิผล ร้อยละการเพิ่มของรายได้จากการท่องเที่ยว ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจน ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินบประมาณ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จของการบริหารความรู้ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านการพัฒนาองค์กร การเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป ตัวอย่าง
การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด 2
จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย กลยุทธ์ โครงการ จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ เจรจาตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ประกาศให้ ประชาชนทราบ ลงนาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ รับสิ่งจูงใจตาม ระดับของผลงาน จังหวัดดำเนินการตามคำรับรองฯ และประเมินผลตนเอง ประเมินผล
1) ขั้นตอนการจัดทำคำรับรอง สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”เสนอ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบ สำนักงาน ก.พ.ร.วิเคราะห์และคัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ส่งให้กลุ่มจังหวัดและจังหวัดพิจารณา กลุ่มจังหวัด/จังหวัดแจ้งผลการพิจารณามายังสำนักงาน ก.พ.ร. กลุ่มจังหวัด/จังหวัดไม่เห็นด้วย กับประเด็นยุทธศาสตร์/ตัวชี้วัด ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด กลุ่มจังหวัด/จังหวัดเห็นด้วย กับประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เจรจากับคณะกรรมการเจรจาฯ โดยผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล สำนักงาน ก.พ.ร. สรุปผลเสนอ อ.ก.พ.ร.ฯ และแจ้งจังหวัด
การติดตาม การประเมินผล 2) ขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การติดตาม การประเมินผล จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร จังหวัดรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. ให้คำปรึกษาแนะนำ สำนักงาน ก.พ.ร./ที่ปรึกษา วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จังหวัดรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 12 เดือน สำนักงาน ก.พ.ร. ติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit ) สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ทบทวนและตรวจสอบผลคะแนนกับจังหวัดและ หน่วยงานกลาง นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3
กรอบการประเมินผลของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา (สังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ การพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือ เคาน์เตอร์บริการประชาชน มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ 70 ) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ความสำเร็จของเป้าหมายผลผลิต ของจังหวัดตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย มาตรการประหยัดพลังงาน การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มิติภายใน
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 25 1.1 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (10) 1.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการจัดทำ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (5) 1.3 ระดับความสำเร็จของโครงการรับจำนำข้าวเปลือก หมายเหตุ จังหวัดใดที่ไม่มีตัวชี้วัดที่ 1.3 ให้นำน้ำหนักรวมที่ ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละ 5 และ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละ 5 2. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด 10 2.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ในลำดับที่ 1 2.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ในลำดับที่ 2 หมายเหตุ ในแต่ละยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดมีตัวชี้วัดได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด 3. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัด 15 3.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัดในลำดับที่ 1 3.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัดในลำดับที่ 2 3.3 ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Readiness) (หากจังหวัดมีตัวชี้วัดนี้ กำหนดน้ำหนักร้อยละ 3) หมายเหตุ ในแต่ละยุทธศาสตร์ของจังหวัดมีตัวชี้วัดได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด 15
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (ต่อ) 4. ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา (สังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) 10 4.1 ระดับคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของร้อยละการจับกุมผู้กระทำผิดในคดี แต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้น (2.5) 4.2 ระดับความสำเร็จของการรักษาความปลอดภัยโดยเน้นอุบัติเหตุ จราจรทางบก 4.3 ระดับความสำเร็จของการจัดการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4.4 ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาเพื่อลดจำนวนครัวเรือนยากจน ที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. หมายเหตุ จังหวัดใดที่ไม่มีตัวชี้วัดที่ 4.4 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละ 1 ตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละ 1 และตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละ 0.5 การประเมินคุณภาพ 5. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 8 6. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน 2 16
ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ 7. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2.5 8. ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับ เป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ของจังหวัด 3 10. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐาน ระยะเวลาการให้บริการ 7 การพัฒนาองค์การ 11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร 5 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ 13. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ 14. ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ 4 รวม 100 17
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 25 1.1 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (10) 1.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการจัดทำ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (5) 1.3 ระดับความสำเร็จของโครงการรับจำนำข้าวเปลือก หมายเหตุ จังหวัดใดที่ไม่มีตัวชี้วัดที่ 1.3 ให้นำน้ำหนักรวมที่ ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละ 5 และ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละ 5 2. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด 10 2.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ในลำดับที่ 1 2.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ในลำดับที่ 2 หมายเหตุ ในแต่ละยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดมีตัวชี้วัดได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด 3. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัด 15 3.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัดในลำดับที่ 1 3.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของจังหวัดในลำดับที่ 2 3.3 ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Readiness) (หากจังหวัดมีตัวชี้วัดนี้ กำหนดน้ำหนักร้อยละ 3) หมายเหตุ ในแต่ละยุทธศาสตร์ของจังหวัดมีตัวชี้วัดได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด 18
การจัดทำตัวชี้วัดร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด คัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ โดยพิจารณาจากลำดับความสำคัญ ที่จังหวัด/จังหวัดกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 และได้รับงบประมาณดำเนินการ คัดเลือกตัวชี้วัดคัดเลือกจากรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัด” โดย พิจารณาประกอบกับกลยุทธ์ และเป้าประสงค์ที่กลุ่มจังหวัด/จังหวัดกำหนดไว้ แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้อ่าวไทย ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวชี้วัด 1. การผลิต แปรรูปและ การบริหาร จัดการพืชเศรษฐกิจยางพารา และปาล์มน้ำมันที่มีคุณภาพ แบบครบวงจร 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิตทาง การเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด (ปาล์มน้ำมัน) 2. ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับ ใบรับรองมาตรฐาน GAP ของผลผลิต การเกษตรที่สำคัญต่อจำนวนแปลง/ ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ 2. พัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวระดับนานาชาติ 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของจังหวัดชุมพร ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวชี้วัด 1. การพัฒนาคนและสังคม ให้มีคุณภาพ 1. ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหา สังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. อัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 2. การพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างครบวงจร 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ จากการท่องเที่ยวของจังหวัด ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของนักท่องเที่ยว
ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวชี้วัด 1. การพัฒนาการค้าและความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน 1. มูลค่าการค้าชายแดน 2. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิต ทางการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด 2. การพัฒนาการท่องเที่ยว 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของจังหวัดสกลนคร ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ ตัวชี้วัด 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1. ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหา สังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากร กลุ่มอายุ 15 - 17 ปี 2. การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ท่องเที่ยวของจังหวัด 4. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัด
เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับที่ 5 ระดับที่ 4 ดีกว่าเป้าหมายมาก ระดับที่ 3 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์ (Outcome) หรือมี การเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ในระดับต่างๆ เช่น ระดับชาติ เป็นต้น ดีกว่าเป้าหมาย กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดนั้นในเชิงคุณภาพ หรือนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ หรือผลการดำเนินการทำให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) อย่างไร เป็นต้น ระดับที่ 2 เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นการวางเป้าหมาย ที่จะทำสำเร็จตามแผนงานประจำปี หรือจะพัฒนาต่อเนื่องจากผลการดำเนินการในปีก่อน เป็นContinuous Improvement หรือ ถ้าตัวชี้วัดใดที่มีผลการดำเนินการได้สูงสุดและ ไม่สามารถปรับปรุงได้อีกแล้วก็อาจจะถอดตัวชี้วัดนั้นออกหรือลดน้ำหนักตัวชี้วัดนั้น เป็นต้น ระดับที่ 1 ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมายมาก
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556 ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 1. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของนักท่องเที่ยว 2. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน มูลค่าการค้าชายแดนของ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรสำคัญของ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556 ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 3. ยุทธศาสตร์ด้านเกษตรกรรม ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ของผลผลิตการเกษตรที่สำคัญต่อจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ร้อยละของจำนวนเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเตรียมความพร้อมตามระบบมาตรฐาน GAP ผลผลิตการเกษตรเฉลี่ยต่อหน่วย การผลิต ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตการเกษตรของกลุ่มจังหวัด ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ ร้อยละของจำนวนเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่สามารถลดต้นทุนการผลิตต่อไร่ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาผลผลิตทางการเกษตร
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556 ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 4. ยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม จำนวนมาตรฐานอุตสาหกรรมระดับสากลที่สถานประกอบการได้รับการรับรองเทียบกับเป้าหมาย ระดับความสำเร็จของการเพิ่มสมรรถนะด้านการบริหารจัดการและการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ 5. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนบูรณาการด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันและเตือนภัยจากสภาวะหมอกควัน อุทกภัย และดินโคลนถล่มของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด 6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม อาชีพ คุณภาพชีวิต และการศึกษา ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ร้อยละที่ลดลงของอัตราคดีเด็กและเยาวชนต่อประชากร 1,000 คน
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556 ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม อาชีพ คุณภาพชีวิต และการศึกษา (ต่อ) ร้อยละของหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การ จัดระดับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ระดับความสำเร็จของการจัดการงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (Safer Food for Better Health) ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานเพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและ/หรือการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556 ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม อาชีพ คุณภาพชีวิต และการศึกษา (ต่อ) ผลงานในการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติเทียบกับปีที่ผ่านมา อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากร กลุ่มอายุ 15 - 17 ปี ร้อยละของจำนวนแรงงานที่ได้รับการ บรรจุงานในประเทศ ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นของจังหวัดที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด 7. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ระดับความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ร้อยละหมู่บ้านที่ไม่มีการก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่ 8. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (วัดที่มิติภายใน)
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 ประเด็น ตัวชี้วัด น้ำหนัก มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (ต่อ) 4. ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา (สังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) 10 4.1 ระดับคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของร้อยละการจับกุมผู้กระทำผิดในคดี แต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้น (2.5) 4.2 ระดับความสำเร็จของการรักษาความปลอดภัยโดยเน้นอุบัติเหตุ จราจรทางบก 4.3 ระดับความสำเร็จของการจัดการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4.4 ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาเพื่อลดจำนวนครัวเรือนยากจน ที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. หมายเหตุ จังหวัดใดที่ไม่มีตัวชี้วัดที่ 4.4 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละ 1 ตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละ 1 และตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละ 0.5 การประเมินคุณภาพ 5. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 8 6. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน 2 30
การสำรวจความพึงพอใของผู้รับบริการ ตามตัวชี้วัด “ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ” ได้แก่ 1) งานบริการบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนราษฎร หน่วยงาน : ที่ว่าการอำเภอ 2) งานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หน่วยงาน : สำนักงานที่ดินจังหวัด และสำนักงานที่ดินสาขา 3) งานบริการผู้ป่วยนอก หน่วยงาน : โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ตั้งอยู่ในจังหวัด 4) งานบริการจัดหางาน หน่วยงาน : สำนักงานจัดหางานจังหวัด 5) การถ่ายทอดความรู้และการให้บริการทางการเกษตร หน่วยงาน: สำนักงานเกษตรจังหวัด และสำนักงานเกษตรอำเภอ
ปฏิทินการจัดทำคำรับรองฯและประเมินผลฯ ปีงบประมาณ 2556 วันที่ กิจกรรม 26 พ.ย. 55 ชี้แจงกรอบการประเมินผลฯ ปีงบประมาณ 2556 แนวทางการจัดทำคำรับรองฯ และรายละเอียดตามรายการตัวชี้วัด ภายใน ธ.ค. 55 เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน ตามคำรับรอง ประจำปีงบประมาณ 2556 โดยผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล ภายใน ม.ค. 56 ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินผลฯ ประจำปีงบประมาณ 2556 31 ม.ต. 56 จังหวัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.3 ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Readiness) (เฉพาะจังหวัดที่มีตัวชี้วัดนี้) ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ภายใน ก.พ. 56 กลุ่มจังหวัดและจังหวัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) เฉพาะตัวชี้วัดที่ 2.1-2.2 และ 3.1- 3.2 จำนวน 2 ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล ให้สำนักงานก.พ.ร. ภายใน มี.ค. 56 สำนักงาน ก.พ.ร. ส่งผลการตรวจสอบรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Audit)ให้จังหวัด 31 มี.ค. 56 (เนื่องจากวันที่ 31 มี.ค. 56 ตรงกับ วันหยุดราชการ จึงเลื่อน เป็นวันที่ 1 เม.ย. 56) สิ้นสุดการรับคำขอเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดฯครั้งที่ 1 ในกรณีที่ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด (1) ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ (2) กรณีไม่ได้รับ จัดสรรงบประมาณหรือได้รับจัดสรรไม่เพียงพอ และไม่สามารถโอนเปลี่ยนแปลง รายการงบประมาณ (ส่งคำขอเปลี่ยนแปลงฯ และเอกสารชี้แจงเหตุผล 1 ชุด ให้สำนักงาน ก.พ.ร.)
ปฏิทินการจัดทำคำรับรองฯและประเมินผลฯ ปีงบประมาณ 2556 วันที่ กิจกรรม 30 เม.ย. 56 กลุ่มจังหวัดและจังหวัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือน 1 ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล ให้ ก.พ.ร. และกรอก e- SAR Card ภายใน 16 ก.ค. 56 กลุ่มจังหวัดและจังหวัดกรอก e- SAR Card รอบ 9 เดือน (1 ต.ค. 55 – 30 มิ.ย. 56) มิ.ย. – ส.ค. 56 สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 31 ต.ค. 56** กลุ่มจังหวัดและจังหวัดส่ง SAR รอบ 12 เดือน (1 ต.ค. 55–30 ก.ย. 56 ) จำนวน 2 ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูลให้สำนักงาน ก.พ.ร. และ กรอก e- SAR Card สิ้นสุดการรับคำขอเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดฯ ครั้งที่ 2 (กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ส่งคำขอเปลี่ยนแปลงฯ และเอกสารชี้แจงเหตุผลความจำเป็น จำนวน 1 ชุด ให้ สำนักงานก.พ.ร.) ** หากส่ง SAR รอบ 12 เดือน ล่าช้ากว่ากำหนด จะถูกปรับลดคะแนนวันละ 0.05 ของคะแนนรวม (นับวันทำการ) ม.ค. – ก.พ. 57 สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ ในพื้นที่จังหวัด
การรายงานผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด รอบ 6, 9, 12 เดือน กรอก e- SAR ในระบบเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. ผลการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (PMOC) รายงานผลการดำเนินงานที่สำคัญผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นรายเดือน/รายไตรมาส ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดสำคัญ ได้แก่ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด, ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด และ การรับจำนำข้าวเปลือก ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์จังหวัด เช่น รายได้จากการท่องเที่ยว เป็นต้น
ระบบสนับสนุนการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สอบถามทางโทรศัพท์ ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ราวเดือนมกราคม 2556) คลินิกให้คำปรึกษา
Thank you กลุ่มมาตรฐานการติดตามประเมินผลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด สำนักติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ me_province@opdc.go.th savitree@opdc.go.th โทร. 0 2356 9999 ต่อ 8867 Thank you