การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM) นายสุขสันติ์ บุณยากร หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลัยการปกครอง
การบริหารโดยมุ่งผลส้มฤทธิ์ RESULTS BASED MANAGEMENT : RBM การบริหารโดยมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ หรือความสัมฤทธิ์ผลเป็นหลัก โดยใช้ระบบการวัดผลการปฏิบัติงานที่อาศัยตัวชี้วัด เป็นตัวสะท้อนผลงานให้ออกมาเป็นรูปธรรม
ทำไมต้องบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ/ทรัพยากรมีจำกัด ความต้องการของประชาชนที่มากขึ้น การแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ประสบการณ์ของต่างประเทศ การบริหารภาครัฐแนวใหม่ รัฐธรรมนูญ นโยบายของรัฐบาล
กรอบความคิดการวัดผลสัมฤทธิ์ ปัจจัย นำเข้า ผลลัพธ์ วัตถุ ประสงค์ กิจกรรม ผลผลิต ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล
วัตถุประสงค์(Objective) เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน วัตถุประสงค์(Objective) ปัจจัยนำเข้า(Input) ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต กิจกรรม(Process) กระบวนการผลิต ผลผลิต/บริการ ผลผลิต(Output) ผลลัพธ์(Outcomes) ผลกระทบจากผลผลิต ต่อผุ้รับบริการ ผลสัมฤทธิ์(Results) ผลผลิต + ผลลัพธ์
ความตั้งใจหรือข้อกำหนด ไว้ว่าจะทำอะไรในอนาคต วัตถุประสงค์ (Objectives) ทิศทางที่เราจะเคลื่อนไป เป้าหมาย (Goals) ความสำเร็จของงานที่เรา คาดหวังให้เกิดขึ้นใน อนาคต อาจเป็นเวลา หรือช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เชิงปริมาณ เป้าหมาย เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย หมายถึง ค่าคาดหมายที่ควรจะทำได้ของแต่ละตัวชี้วัด เป็นการกำหนดผลของงานที่ต้องทำได้ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานมาพิจารณาประกอบด้วย - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับสำนักงานอื่น - ข้อมูลผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบจากหน่วยงานภายนอก - ปัจจัยสภาพแวดล้อมอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการ ทำงาน การนำเทคโนโลยีมาใช้ การพัฒนาบุคคล ฯลฯ มีหลายระดับ เช่น ระดับองค์กร / ฝ่าย / แผนก
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน หมายถึง การวัดผลการปฏิบัติงานแต่ละด้าน เช่น ทรัพยากร ผลผลิต และผลลัพธ์ เป็นต้น ให้ออกเป็นตัวเลขที่แน่นอนเพื่อแสดงถึงการปฏิบัติงาน ตัวเลขที่แน่นอน ได้แก่ - จำนวน - ร้อยละ (%) - ค่าเฉลี่ย เช่น มัชฉิมเลขคณิต หรือมัธยฐาน ( X ) - อัตราส่วน
1.จำนวนผู้ใช้บริการที่ได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพให้ดีขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ตัวชี้วัดผลผลิต 1.จำนวนผู้ใช้บริการที่ได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพให้ดีขึ้น 1.จำนวนผู้ใช้บริการ 2.อัตราร้อยละของความยาวของ ถนนที่ได้รับการซ่อมแซมแล้ว ยังอยู่ในสภาพที่ดี 2.ความยาวของถนน ที่ได้รับการซ่อมแซม 3.จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ได้รับความรู้จากโครงการ 3.จำนวนโครงการ ฝึกอบรมที่จัดขึ้น 4.จำนวนผู้ถูกจับกุม คดียาเสพติด 4.อัตราร้อยละของผู้ถูกจับกุม ที่ได้รับการลงโทษ
มิติด้านต่างๆ ของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) ด้านการบริการ (Customer Service) การปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance) ความประหยัด (Economy)
การวัดประสิทธิผล 1. วัดจากกรอบของหน่วยงาน ผู้รับบริการ - เปรียบเทียบผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้น จริงกับเป้าหมาย 2. วัดในแง่การตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ - เชิงปริมาณและคุณภาพ - ความรวดเร็ว - ความมีมนุษยสัมพันธ์
การวัดประสิทธิภาพ 1. เปรียบเทียบระหว่างผลผลิตหรือผลงาน 1. เปรียบเทียบระหว่างผลผลิตหรือผลงาน ที่เกิดขึ้น (Output) กับปัจจัยนำเข้า หรือทรัพยากรที่ใช้ 2. เปรียบเทียบกับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ
การวัดประสิทธิภาพ 1.วัดจากต้นทุน ประสิทธิภาพ = ประสิทธิภาพ = 2.วัดจากแรงงาน ประสิทธิภาพ = ความคุ้มค่า การลงทุน จำนวนผลผลิต จำนวนต้นทุน ต้นทุนต่อหน่วย จำนวนต้นทุน จำนวนผลผลิต จำนวนผลผลิต จำนวนเจ้าหน้าที่
การเข้าถึง / ความสะดวกใน การรับบริการ (สถานที่/เวลา/ ความพร้อมของเจ้าหน้าที่) คุณภาพ การให้ บริการ (Service Quality) ความยุ่งยาก / ง่ายต่อความเข้าใจ (แบบฟอร์ม / ภาษา) การให้บริการอย่างถูกต้อง การให้บริการที่รวดเร็ว การให้บริการที่ปลอดภัย
เงิน มิติ ด้าน ประหยัด แรงงาน เวลา ทรัพยากร
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ การวางแผนองค์การและแผนกลยุทธ์ (Corporate and Strategic Planning) การมอบอำนาจและให้อิสระในการทำงาน (Devolution and Autonomy) การเทียบเคียงงาน (Benchmarking) การวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance Measurement) การติดตามผลการปฏิบัติงาน (Performance Monitoring)