ความหมายและกระบวนการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ๒๔ กันยายน ๒๕๕๖.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายและกระบวนการ ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความหมายและกระบวนการ ตำบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดปัจจัยเสี่ยง (๓อ. ๒ส.) และ โรควิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ท้องถิ่น และทุกๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นที่มีการบูรณาการร่วมกัน กำหนดปัญหาสุขภาพ กำหนดอนาคตของตนเอง พัฒนาด้านสุขภาพและมาตรการทางสังคม รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกสาธารณะ การมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน

กระบวนการ และแผนปฏิบัติงาน การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย ภาคกลาง ปี 2555

ขอรายชื่อตำบลเป้าหมายและแผนงาน มีนาคม ๒๕๕๕ ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย มี 2 เป้าหมาย ระดับดี ขึ้นไป ๖๐ % 1.ระดับพื้นฐาน 2.ระดับพัฒนา 3.ระดับดี 4.ระดับดีมาก 5.ระดับดีเยี่ยม เป้าหมาย 1 : ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยต้นแบบ - อำเภอละ ๑ ตำบล รวม ๒๐๙ ตำบล มีระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ... ขอรายชื่อตำบลเป้าหมายและแผนงาน มีนาคม ๒๕๕๕ การพัฒนากระบวนการจัดทำตามแผนสุขภาพตำบล การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ (ทีมงาน) ปี ๒๕๕๕

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป้าหมาย 2 : การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 1 เป้าหมาย รพ.สต. ขนาดใหญ่ 1,000 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน เขตเมือง (ศสม.) 215 แห่ง รวม ๑,๒๑๕ แห่ง ตัวชี้วัด ร้อยละของรพ.สต.ขนาดใหญ่ผ่านเกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตามมาตรฐานที่กำหนด ระดับดีมาก ๑๐ % ขึ้นไป เกณฑ์ ร้อยละ ๑๐ (ผ่านเกณฑ์ในระดับ ดีมากขึ้นไป)

เกณฑ์การประเมินตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แบ่งเป็น ๕ ระดับ ระดับที่ 5 ระดับดีเยี่ยม ตำบลจัดการสุขภาพดี วิถีชีวิตไทยต้นแบบ ระดับที่ 4 ระดับดีมาก ตำบลมีระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง ระดับที่ 3 ระดับดี การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ ระดับที่ 2 ระดับพัฒนา การพัฒนากระบวนการจัดทำตามแผนสุขภาพตำบล ระดับที่1 ระดับพื้นฐาน การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ(ทีมงาน)

แผนปฏิบัติงานของศูนย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แผนปฏิบัติงานของศูนย์

แผนปฏิบัติงานของศูนย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แผนปฏิบัติงานของศูนย์