การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
สื่อประกอบการเรียนรู้
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
คุณภาพชีวิต.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Pass:
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้ โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พ.ญ.เพ็ญศรี พิชัยสนิธ

“สุขภาพของเด็กเป็นสิ่งสำคัญเพราะสุขภาพเป็นปัจจัยสำคัญในการเจริญเติบโตและพัฒนาการ”

เป้าหมายการบริการสุขภาพ อดีต การบำบัดรักษาความเจ็บป่วย ป้องกันโรค ปัจจุบัน พัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งร่างกาย จิตใจ และมีพัฒนาการอย่างสมดุล ทำให้เด็กมีโอกาสเกิดรอด ปลอดภัย เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขมากขึ้น

ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในวัยต่าง ๆ วัยทารกแรกเกิด (28วันแรกหลังคลอด) ปัญหาที่เกี่ยวกับสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์&คลอด เบาหวาน, HT, AIDS ปัญหาเกิดจากการคลอดที่ผิดปกติ ปัญหาขาด o2ของทารก ปัญหาคลอดก่อนกำหนด/ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย วัยทารกและวัยก่อนเรียน (>28 วัน – 5 ปี) โรคติดเชื้อ : ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ปัญหาด้านโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ อุบัติเหตุ

ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในวัยต่าง ๆ วัยเรียน (6 – 12 ปี) โรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจ ไข้เลือดออก โรคหัวใจรูมาติก โรคฟันและเหงือก ปัญหาโภชนาการ อุบัติเหตุ วัยรุ่น (12 ปี ขึ้นไป) ปัญหาทางเพศ ปัญหายาเสพติด อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ของสังคมไทย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ของสังคมไทย สุขภาพมารดา ครอบครัว ภาวะโภชนาการ โรงเรียน การจัดบริการสุขภาพ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม สื่อต่าง ๆ

แนวทางและกลวิธีที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ครอบครัว : ชีวิตดีเริ่มที่บ้าน ความรักความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดู การเรียนรู้ การให้ความรู้และคำปรึกษาก่อนแต่งงาน การจัดทำค่ายครอบครัว เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว ส่งเสริมสุขภาพจิต

แนวทางและกลวิธีที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก การจัดบริการสุขภาพ : ที่เน้นการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงเติบโตเป็นวัยรุ่น ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา - คลินิกฝากครรภ์ /คลินิกให้คำปรึกษาครอบครัว /คลินิกสุขภาพเด็กดี - การจัดตั้งศูนย์นมแม่/ศูนย์รับเลี้ยงเด็กกลางวัน สำหรับมารดาที่ต้องทำงาน การจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน : ที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการด้านต่าง ๆ - มีของเล่นที่ส่งเสริมพัฒนาการ/ มีมุมการเรียนรู้สำหรับผู้ปกครอง /จัดอาหารตามหลักโภชนาการ/เน้นเรื่องความสะอาดและปลอดภัย

แนวทางและกลวิธีที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก โรงเรียน :โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการโรงเรียนอ่อนหวาน/ประเมินภาวะโภชนาการของเด็ก โครงการป้องกันอุบัติภัยในเด็ก เช่น สวมหมวกให้น้อง ว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้ ถนนปลอดภัย โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย /มีการคัดกรองสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม: ที่ปลอดภัย เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโต และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก ปลอดภัยจากสิ่งยั่วยุต่าง ๆ เช่น สื่อลามกอนาจาร สังคมที่ปลอดจากสิ่งเสพติด สิ่งยั่วยุทางเพศ

สวัสดี