แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
แบบรูปและความสัมพันธ์
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ความน่าจะเป็น (Probability)
รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
1 ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส แก้ไขครั้งล่าสุด 11 May 2009.
Hereditary Spherocytosis (HS)
การบริหารด้านเวชภัณฑ์มิใช่ยา
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
Thalassemia Patommatat MD.
Management of Pulmonary Tuberculosis
Decision Limit & Detection Capability.
ครูที่นักเรียนอยากได้
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ธาลัสซีเมีย ทำไมต้องตรวจ คืออะไร ตรวจแล้วได้อะไร สำคัญอย่างไร
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
มุ่งสู่ฝันและความเป็นหนึ่ง
การเตรียมเลือดที่ปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยธาลัสซีเมีย
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
Incidence of Thalassemia carrier in Thailand
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาขาโรคมะเร็ง.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
Thalassemia screening test
1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา อย่างไร 4. ผู้อื่นทำหน้าที่แทนได้ หรือไม่ 1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การตรวจยืนยันและการแปลผลตรวจ ธาลัสซีเมียและการระบุคู่เสี่ยง
นพ.มงคล ลือสกลกิจ รพศ.เจ้าพระยายมราช
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
วิธีตรวจพาหะสำหรับธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปรกติ และข้อจำกัด
Genetic counselling ให้นักศึกษาทำกลุ่มละหนึ่ง family อนุญาตให้ปรึกษากันข้ามกลุ่มได้ค่ะ ให้ส่งใบรายงานผลก่อนบ่ายโมงตรง อภิปรายผลร่วมกันหลังปิดแล็บ.
สมาชิก โต๊ะที่ 5 กลุ่ม น. ส. ชลธิชา. เบ้าสิงห์ น. ส
การบริหารจัดการ “THALASSEMIA”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร. สุมาลี จินดาดำรงเวช ศูนย์วินิจฉัยโรคเลือด หน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 27 พฤษภาคม 2554

แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม จากผลการตรวจกรองต่อไปนี้ ท่านจะวินิจฉัยเบื้องต้นและส่งตรวจเพิ่มเติมอย่างไร กรณีที่ OF Test DCIP Test แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม 1.1 Negative A2A (normal), -thalassemia2 trait -

แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม กรณีที่ OF Test DCIP Test แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม 1.2 Positive Negative β-thal trait, -thal1 trait, Thalassemia disease Iron deficiency anemia 1. ตามสามีมาตรวจ screening 2. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ Hb typing ทั้งคู่ 3. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ DNA analysis ทั้งคู่

แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม กรณีที่ OF Test DCIP Test แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม 1.3 Negative Positive HbE trait, Homozygous HbE, Unstable Hb อื่นๆ เช่น HbH, HbBart’s 1. ตามสามีมาตรวจ screening 2. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ Hb typing ทั้งคู่ 3. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ DNA analysis ทั้งคู่

แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม กรณีที่ OF Test DCIP Test แปลผล / ปรึกษา ตรวจเพิ่มเติม 1.4 Positive HbE trait, Homozygous HbE, HbH disease, EABart’s disease, β-thalassemia/HbE 1. ตามสามีมาตรวจ screening 2. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ Hb typing ทั้งคู่ 3. ถ้ามีโอกาสเสี่ยง ส่งตรวจ DNA analysis ทั้งคู่

2. แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต่อไปนี้ 2. แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต่อไปนี้ Cases Lab. Case number 1 2 3 4 5 6 7 OF Test DCIP Test Negative Positive CBC MCV (fl) 80.6 84.1 70.3 62.2 62.5 60.3 67.7 Hb typing HbF (%) HbA2/E (%) HbA (%) HbH HbBart’s 0.8 28.1 61.8 - 0.3 3.1 88.0 0.5 1.6 90.0 Found 5.8 83.1 5.3 84.4 55.7 32.2 0.6 22.8 Interpretation EA HbE trait A2A Normal Hb typing A2ABt’sH HbH disease EE Homo HbE A2A(highA2) β-thal trait EF β-thal/ HbE EA(Low E) HbE trait +-thal1 trait

ภรรยา สามี จากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการของคู่สามีภรรยาต่อไปนี้ ท่านจะแจ้งผลและให้คำปรึกษาอย่างไร 3.1 ภรรยา สามี OF : Positive DCIP : Negative Hb typing : A2A Normal Hb typing / OF positive อาจเป็น a-thal 1 trait ทั้งคู่ ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis

ภรรยา สามี 3.2 OF : Negative OF : Positive DCIP : Positive Hb typing : EA OF : Positive DCIP : Negative Hb typing : b-thal trait ภรรยาเป็น HbE trait สามีเป็น b-thal trait เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง b-thalassemia/HbE disease ไม่ต้องส่งตรวจ PCR for a-thal 1 (ยกเว้นกรณี HbE < 25%)

ภรรยา สามี 3.3 OF : Positive DCIP : Negative Hb typing : b-thal trait ทั้งคู่เป็น b-thal trait ซึ่งอาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ เสี่ยงมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง Homozygous b-thalassemia disease ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis ด้วย

ภรรยา สามี 3.4 OF : Positive DCIP : Negative Hb typing : b-thal trait Hb typing : A2A ภรรยาเป็น b-thal trait สามีเป็น Normal Hb typing / OF positive แม้ทั้งคู่ไม่เสี่ยงต่อ b-thalassemia disease แต่ ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis

ภรรยา สามี OF : Positive DCIP : Positive Hb typing : HbE trait (E 21%) Hb typing : EE 3.5 ภรรยาเป็น HbE trait (low E) ซึ่งมีโอกาสเป็น a-thal 1 trait สามีเป็น Homo E ซึ่งอาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ แม้ทั้งคู่ไม่เสี่ยงต่อ b-thalassemia disease แต่ ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis

ภรรยา สามี 3.6 OF : Negative OF : Positive DCIP : Negative DCIP : Positive Hb typing : HbE trait (E 21%) OF : Negative DCIP : Negative Hb typing : b-thal trait ภรรยา b-thal trait สามี HbE trait (low E) อาจมี a-thal 1 trait เสี่ยงมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง b-thalassemia/HbE disease ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis ด้วย

ภรรยา สามี OF : Positive DCIP : Negative Hb typing : b-thal trait DCIP : Positive Hb typing : EE 3.7 ภรรยา b-thal trait สามี Homozygous HbE ซึ่งทั้งคู่อาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ เสี่ยงมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง b-thalassemia/HbE disease ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis ด้วย

ภรรยา สามี 3.8 OF : Positive DCIP : Positive Hb typing : EE ทั้งคู่เป็น Homo HbE ซึ่งอาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ แม้ไม่เสี่ยงที่จะมีบุตรเป็น b-thalassemia disease แต่ ควรส่งตรวจ PCR for a-thal 1 ทั้งคู่ เพราะอาจเสี่ยงต่อ การมีบุตรเป็น HbBart’s hydrops fetalis

ภรรยาเป็น HbE trait สามีเป็น b-thal trait 4. คู่สามีภรรยามาตรวจสุขภาพก่อนวางแผนมีบุตร 4.1 แปลผลการตรวจเลือดของคู่สามีภรรยานี้ ภรรยาเป็น HbE trait สามีเป็น b-thal trait

บุตรของทั้งคู่มีโอกาสเป็นโรคชนิดรุนแรง b-thalassemia/HbE disease 4.2 บุตรมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงหรือไม่ อัตราเสี่ยงเท่าไร บุตรของทั้งคู่มีโอกาสเป็นโรคชนิดรุนแรง b-thalassemia/HbE disease bE / b b* / b ภรรยา สามี b-thal trait HbE trait 25% b-thal/HbE disease b* / bE 50% Carriers b* / b bE / b 25% Normal b / b

- เป็น HbE trait (low E) ซึ่งมีโอกาสเป็น a-thal 1 trait แฝงอยู่ 5. หญิงไทย คู่ มาฝากครรภ์ เข้ารับการตรวจกรองธาลัสซีเมีย ได้ผลดังนี้ Hb 11.5 g/dl, Hct 36.0%, MCV 70.3 fl, MCH 22.9 pg, RDW 17.0% DCIP = Positive Hb typing : EA (low HbE level); HbF 0.2%, HbE 22.8%, HbA 77% 5.1 แปลผลการตรวจเลือดของผู้ป่วย และท่านจะแนะนำผู้ป่วยรายนี้อย่างไร - เป็น HbE trait (low E) ซึ่งมีโอกาสเป็น a-thal 1 trait แฝงอยู่ - ให้ตามสามีมาตรวจเบื้องต้นดูว่าจะมีความเสี่ยง ต่อ b-thalassemia และ/หรือ HbBart’s hydrops หรือไม่

- สามีเป็น Normal Hb typing ซึ่งอาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ 5.2 ตรวจเลือดสามี พบว่า Hb typing : A2A, A2 2.1%, A 97.9% CBC : Hb 13.0 g/dl, Hct 39.0%, MCV 67 fl, MCH 23 pg, RDW 16.6% DCIP = Negative จงแปลผลเลือดของสามี และควรทำการทดสอบใดเพิ่มเติม - สามีเป็น Normal Hb typing ซึ่งอาจมี a-thal 1 แฝงอยู่หรือไม่ก็ได้ เมื่อพิจารณาผล CBC น่าจะมีความผิดปกติสาย alpha - ให้ส่งตรวจ PCR for a-thal 1 เพิ่มเติมทั้งคู่ (เพราะภรรยาก็มีโอกาสเป็น a-thal 1 trait) - DCIP negative แสดงว่าไม่น่าจะมี HbE

บุตรมีโอกาสเป็นโรคชนิดรุนแรง HbBart’s hydrops fetalis 5.3 สูติแพทย์ได้ทำการส่งตรวจ PCR for -thalassemia ทั้งสามีและภรรยาเพิ่มเติม ทั้งคู่พบ : Heterozygous -thal 1 (--SEA type) บุตรของทั้งคู่มีโอกาสเป็นพาหะหรือธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงหรือไม่ อัตราเสี่ยงเท่าไร บุตรมีโอกาสเป็นโรคชนิดรุนแรง HbBart’s hydrops fetalis - - / aa ภรรยา a-thal1 trait สามี - - / - - 25% HbBart’s hydrops - - / aa 50% a-thal1 trait aa / aa 25% Normal

Thank You