แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ” ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ”
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ก้าวต่อไปในการดำเนินการโครงการสำคัญ ประจำปี 2554” วันที่ 15-17 กันยายน 2553 ณ โรงแรมแคนทารี เบย์ จังหวัดระยอง

กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง เพื่อให้คนไทยสุขภาพดี เป้าประสงค์ ประชาชนมีการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายพอเพียงต่อสุขภาพ ตัวชี้วัด ประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย พอเพียง ร้อยละ 80 1

สถานการณ์การเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกาย ปี 2547 - 2552 สถานการณ์การเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกาย ปี 2547 - 2552 ตารางและกราฟ แสดงร้อยละของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีการเคลื่อนไหว ออกแรง/ออกกำลังกายพอเพียงตามเกณฑ์ ปี 2547 – 2552 ร้อยละ ปี การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย (ร้อยละ) 2547 80.9 2548 81.8 2549 78.6 2550 85.4 2551 81.5 2552 74.9 85.4 81.8 81.5 80.9 78.6 74.9 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ปี 1

โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 1 โครงการนวลีลาเพิ่มคุณค่าเยาวชน 2011 เพื่อ รณรงค์สร้างกระแสให้เกิดกิจกรรมทางกายและออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 12-15ปี ทั่วประเทศ กิจกรรม จัดประกวดแนวคิดการประยุกต์และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบท่าทางของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ สำหรับเด็กและเยาวชน 1

โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 1 โครงการนวลีลาเพิ่มคุณค่าเยาวชน 2011 บทบาท ส่วนกลาง จัดการประกวดรอบสุดท้ายที่กทม. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศม์ พระวรชายา เสด็จประทานถ้วยรางวัล (ก.ค.2554) ศูนย์และจังหวัด จัดการประกวดในจังหวัดพื้นที่ศูนย์รับผิดชอบ คัดเลือกผู้ชนะในเขต ศูนย์ละ 3 ทีม 1

ตัวชี้วัดระดับโครงการ โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 1 โครงการนวลีลาเพิ่มคุณค่าเยาวชน 2011 ตัวชี้วัดระดับโครงการ เด็กและเยาวชนที่มีอายุ 12 -25 ปี เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันจำนวน 2,000 คน (100 ทีม ทีมละ 20 คน) 1

โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิก DPAC เพื่อ พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้สามารถจัดตั้งและดำเนินงานตามแนวทางคลินิก DPAC กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ให้มีศักยภาพตามแนวทางการดำเนินงานคลินิก DPAC รวมถึงการฝึกปฏิบัติกับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้เจ้าหน้าที่เกิดความมั่นใจในการดำเนินงาน 1

โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิก DPAC บทบาท ส่วนกลาง จัดการอบรม 4 ภาค ให้แก่เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในการดำเนินงาน ศูนย์และจังหวัด ศูนย์และจังหวัด (ที่เคยอบรมแล้ว) เข้าร่วมการอบรมซ้ำ พร้อมเป็นพี่เลี้ยงให้กับโรงพยาบาลในเขตพื้นที่ 1

ตัวชี้วัดระดับโครงการ โครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2554 2 โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิก DPAC ตัวชี้วัดระดับโครงการ สถานบริการของรัฐ ได้แก่ โรงพยาบาลมีนโยบายส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารและออกกำลังกายอย่างยั่งยืน และเข้าร่วมดำเนินการคลินิก DPAC อย่างน้อย 24 แห่ง 1

สวัสดี 1