ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 17 กันยายน 2553 1
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2553 1.ตัวชี้วัด กพร. การดำเนินงานอาหารปลอดภัย ระดับจังหวัด พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ในระดับที่ 3 CFGT 80 % ตลาดสดน่าซื้อ 80% 2. ตัวชี้วัด กพร. กระทรวงสาธารณสุข 1.1.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับกระทรวง กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ในระดับที่ 4 - ต้องสุ่มประเมิน CFGT 10 % ตลาดสดน่าซื้อ 30 % - ประเมินกระบวนการตรวจรับรองตลาดสดน่าซื้อและ ร้านอาหารแผงลอยของจังหวัด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2553 3. ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 1. CFGT ร้อยละ 80 2. ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 3. อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 4 แห่ง 4. อปท.มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน 4 แห่ง 5. ระบบประปาได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 5.1 การประปาส่วนภูมิภาค 10 แห่ง 5.2 ประปาเทศบาล 4 แห่ง 5.3 ประปาหมู่บ้าน 387 แห่ง 3
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2553 4. ตัวชี้วัดตามแผนการตรวจราชการและนิเทศงานของกระทรวงสาธารณสุขในกรณีปกติ ปี 2553 “ อัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลง ” จังหวัดสามารถดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารเพื่อลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ กิจกรรมที่แนะนำคือ CFGT ตลาดสดน่าซื้อ ก๋วยเตี๋ยวอนามัย ส่งเสริมคนไทยสุขภาพดี การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในโรงอาหารในโรงเรียน (ไม่มีการนำผลการดำเนินงานมาคำนวณค่าคะแนน) 4
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554 การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554 โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย - เป้าหมาย 80 % - ประกวดสุดยอดร้านอาหาร โครงการตลาดสดน่าซื้อ - เป้าหมาย 80 % - พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ตลาดสดน่าซื้อ โครงการพัฒนามาตรฐานระบบการรับรองสถานประกอบการ (ด้านสุขาภิบาลอาหาร) ปี 2553 - 2554 - เป้าหมาย 24 แห่ง - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการพัฒนาหลักสูตรความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ สำหรับเจ้าหน้าที่ - อบรม จนท.เทศบาล 5 รุ่นๆละ 60 คน - อบรม FSI
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554 การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554 โครงการพัฒนาระบบการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร - สนับสนุนการอบรมผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่เทศบาล - ประชุมชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร โครงการน้ำประปาดื่มได้ - ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบประปาหมู่บ้าน ระบบประปาการประปาส่วนภูมิภาค ให้ได้มาตรฐาน น้ำประปาดื่มได้ โครงการพัฒนาระบบบริการน้ำบริโภคขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น - เป้าหมาย 24 แห่ง - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ - พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สุขาภิบาลอาหารและน้ำในพื้นที่ปกติ - พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สุขาภิบาลอาหารและน้ำในพื้นที่เฉพาะ - พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สุขาภิบาลอาหารและน้ำในพื้นที่เสี่ยง/ สาธารณภัย
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2554 1.ตัวชี้วัด กพร. การดำเนินงานอาหารปลอดภัย ระดับจังหวัด พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ - ระดับที่ 1 จังหวัดจัดทำแผนปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหารของจังหวัด จัดส่งแผนให้ สธ. ภายใน 31 มค. 54 - ระดับที่ 2 ดำเนินการตามแผน - ระดับที่ 3 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ผ่านเกณฑ์ 90% CFGT 80 % ตลาดสดน่าซื้อ 80% - ระดับที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานเกี่ยวกับแหล่งที่มาของอาหารไม่ปลอดภัย - ระดับที่ 5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ส่งรายงานให้ สธ. ภายใน 31 ตค. 54
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2554 2. ตัวชี้วัด กพร. กระทรวงสาธารณสุข ....ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับกระทรวง กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ในระดับที่ 4 - ประเมินกระบวนการตรวจรับรองตลาดสดน่าซื้อและ ร้านอาหารแผงลอยของจังหวัด 1.มีแผนปฏิบัติการ การสนับสนุนและติดตามการดำเนินงาน 2.มีผลการประเมินกระบวนการฯ (แบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์) 3.มีผลการสุ่มประเมิน CFGT 10% ตลาดสดน่าซื้อ 30% อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด 4.มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ มีข้อมูลผลการดำเนินงาน CFGT ตลาดสดน่าซื้อ ปี 2554 รายจังหวัด ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร กรมอนามัย ปี 2554 3. ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 1. CFGT ร้อยละ 80 2. ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 3. อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 24 แห่ง 4. อปท.มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน 24 แห่ง 5. ระบบประปาได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 5.1 การประปาส่วนภูมิภาค 10 แห่ง 5.2 ประปาเทศบาล 4 แห่ง 5.3 ประปาหมู่บ้าน 387 แห่ง
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"