การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน ปราณีต ปานจันทร์ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
มิติด้านประสิทธิภาพ การเฝ้าระวัง * การสำรวจและศึกษาเจตคติพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียนมัธยมปลาย ในเขตสาธารณสุขที่ 4และ 5 -. วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกเร็วขึ้น -. วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์กับคู่รัก แฟน คนรู้จัก > หญิงบริการ -. วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์โดยไม่นิยมใช้ถุงยางอนามัย
2. การพัฒนาวิชาการ * การพัฒนาหลักสูตรเยาวชนสาธารณสุขในสถานศึกษา * การพัฒนาหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธ์สำหรับเยาวชนและแกนนำนักเรียน -. หลักสูตรอนามัยการเจริญพันธ์สำหรับวัยรุ่น 2 วัน -. หลักสูตรการเข้าค่ายสำหรับแกนนำ 3 วัน * กระบวนการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเรื่องเพศและสารเสพติดในนักเรียน
3. การติดตามและประเมินผล 3. การติดตามและประเมินผล * นิเทศติดตามการทำงานมุมเพื่อนใจวัยรุ่นในสถานศึกษาตามมาตรฐานกรมอนามัย * นิเทศติดตามการทำงานมุมเพื่อนใจวัยรุ่นในโรงพยาบาลตามมาตรฐานกรมอนามัย
4. การพัฒนาภาคีและลูกค้าสัมพันธ์ 4. การพัฒนาภาคีและลูกค้าสัมพันธ์ * การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ * การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การประสานกับแหล่งเงินทุน 5. การประสานกับแหล่งเงินทุน * ปี 2549-2551 งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด * ปี 2552 งบประมาณจาก สปสช.
มิติ 6 การพัฒนาระบบการคุ้มครองสุขภาพเด็ก มิติ 6 การพัฒนาระบบการคุ้มครองสุขภาพเด็ก * จัดให้มีมุมเพื่อนใจวัยรุ่น -. การให้ความรู้ -. การบริการด้านสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธ์ -. การให้บริการปรึกษา -. การบริการส่งต่อ
มิติ 6 การพัฒนาระบบการคุ้มครองสุขภาพเด็ก (ต่อ) มิติ 6 การพัฒนาระบบการคุ้มครองสุขภาพเด็ก (ต่อ) * การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพสำหรับเยาวชนเพื่อป้องและลดปัญหาการตั้งครรภ์และผลสืบเนื่อง
เยาวชนสำคัญอย่างไร - จำนวนประชากรที่อยู่ในวัยเยาวชนของไทยลดลง - คือคนทำงาน พลเมือง และพ่อแม่ในอนาคต - จำนวนประชากรที่อยู่ในวัยเยาวชนของไทยลดลง - ปัญหาสังคมที่ส่งผลกระทบต่อเยาวชนในปัจจุบันนั้น เช่น การมีเพศสัมพันธ์อายุน้อย การติดเชื้อ HIV การใช้สารเสพติด ค่านิยมบริโภคนิยม บุคคลสาธารณ ฯลฯ