โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
คุณภาพชีวิต.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การให้ความรู้/คำแนะนำแก่แม่ขณะตั้งครรภ์ (บันไดขั้นที่ 3)
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว โรงพยาบาลแม่สอด

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว โรงพยาบาลลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวในโรงพยาบาลและชุมชน

เกณฑ์การประเมิน เข้าร่วมโครงการ บริการอนามัยแม่และเด็ก เข้าร่วมโครงการ บริการอนามัยแม่และเด็ก ระดับทองแดง กระบวนการคุณภาพและระบบริการ คุณภาพ ระดับเงิน ระดับทองแดงและการมีส่วนร่วมของ ชุมชน ระดับทอง ระดับเงินและผลลัพธ์บริการ

คณะกรรมการเพื่อบรรลุ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว คณะกรรมการโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว คณะกรรมการดำเนินงานโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว คณะกรรมการชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว

นโยบายโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เจ้าหน้าที่ทุกระดับรับทราบนโยบาย เข้าใจและสามารถให้คำแนะนำแก่กลุ่มเป้าหมายได้ เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ พยาบาล มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานการดูแลมารดาและทารกได้ จัดให้มีบริการฝากครรภ์ การคลอด การดูแลหลังคลอดอย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย มีการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน ตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูก และจัดตั้งคลินิกเพื่อลูกกินนมแม่(Lactation Clinic) เพื่อบริการปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับนมแม่ 24 ชั่วโมง มีการปกป้องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานบริการ เช่น ห้ามแสดง จำหน่าย จ่าย แจก หรือแลกเปลี่ยนอาหารทดแทนนมแม่ หัวนมยาง ขวดนม และรวมทั้งสิ่งของที่จะสื่อถึงผลิตภัณฑ์ดังกล่าว มีโรงเรียนพ่อแม่ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดูแลทารกตั้งแต่ในครรภ์รวมถึงพัฒนาการของเด็กทั้งด้าน IQ และ EQ จัดตั้งชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวในสถานบริการและชุมชน ดำเนินงานสุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้อง มีการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อการพัฒนาทุก 2 เดือน

งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลแม่สอด ผ่านประเมินเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา ปี 2535 ผ่านประเมินเป็นโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก ปี 2537 ผ่านประเมินเป็นโรงพยาบาลลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยปี 2542,2547 ผ่านมาตรฐาน HA และ HPH ปี 2550

ผลการดำเนินงาน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ ……………………………………………………………………… ผลลัพธ์ ปีงบ 2549 2550(8/12) -ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 20.0 14.2 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ -ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 6.4 5.4 2,500 กรัม ร้อยละ7หรือลดลงร้อยละ 0.5 ต่อปี -เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน 32.5 16.80 ร้อยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ต่อปี -เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 99.8 99.56 ร้อยละ 90 ……………………………………………………………………….