การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 หลักทั่วไปในในการป้องกันและควบคุม อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน #
Advertisements

เรื่อง หน้าที่ของลูกจ้างตามกฎหมาย ความปลอดภัยสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
องค์ความรู้ ของ กรมแพทย์ทหารเรือ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
การประเมินความเสี่ยง การคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
บทที่ 1 เทคโนโลยีกับชีวิต
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
Globally Harmonized System : GHS
เป็นการดำเนินงานด้วยวิธีทางวิศวกรรมและบริหารจัดการที่จะวิเคราะห์ว่ามี
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Major General Environmental Problems
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม.
Environmental Monitoring for Pesticide Exposure
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย โดย ดร. นลินี ศรีพวง สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ (Nuisance) เป็นพิษต่อร่างกาย (Toxicity) ผลกระทบของสารเคมี ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ (Nuisance) เป็นพิษต่อร่างกาย (Toxicity) ก่อให้เกิดอุบัติภัย (Incident)

การเฝ้าระวังในพื้นที่ การประเมินความเสี่ยง การประเมินผลกระทบ การเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติการเหตุฉุกเฉิน

การประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment) Hazard Identification Dose -response Identification Exposure Identification Risk Characterization

อันตรายจากสารเคมี การติดไฟและการระเบิด (Flammable & Explosive) การกัดกร่อน (Corrosive) การทำปฏิกิริยา (Reactivity) ความเป็นพิษ (Toxicity) สารกัมมันตรังสี (Radioactivity)

การดำเนินการในที่เกิดเหตุเพื่อการควบคุมแลสอบสวน กำหนดระยะความปลอดภัย - Hot Zone - Warm Zone - Cold Zone กำหนดระยะลดการปนเปื้อนของสารเคมี การกำจัดสารเคมี การกำหนดระดับความปลอดภัย การช่วยเหลือ/สนับสนุน การหาข้อมูลข่าวสาร การตรวจทางสิ่งแวดล้อมและชีวภาพ การสื่อสารและการประสานงาน

การสอบสวนที่เกิดเหตุ ลักษณะของการเกิดเหตุ กลิ่น การเกิดการเจ็บป่วย

การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังทางการแพทย์ (Medical Surveillance) การเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Surveillance)

การเฝ้าระวังทางการแพทย์ การกำหนดมาตรการความปลอดภัยต่อสุขภาพ การตรวจสุขภาพทั่วไป การตรวจสุขภาพพิเศษ การตรวจระดับความเข้มข้นของสารเคมีในร่างกาย

การเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม การกำหนดมาตรการความปลอดภัย ในสิ่งแวดล้อมชุมชน การตรวจระดับความเข้มข้นของสารเคมี ในสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของสารเคมีในสิ่งแวดล้อมชุมชน

การเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย จากความผิดพลาดของมนุษย์ (Human Error) จากสภาพแวดล้อม/สิ่งแวดล้อม (Environmental Condition) อุปกรณ์/เครื่องมือ (Equipment)

สารเคมีอันตรายที่ทำให้เกิดอุบัติภัยได้ง่าย สารทำละลายตัวทำละลายอินทรีย์/ สารตัวทำละลายอินทรีย์ ก๊าซ กรด-ด่าง สารกัมมันตรังสี

หลักการทางพิษวิทยากับภาวะความเป็นพิษ กับการประเมินสุขภาพและการสอบสวนโรคจากสารเคมี ชนิดของสารเคมีที่ใช้และที่เข้าสู่ร่างกาย ทางที่เข้าสู่ร่างกาย (Routes of Entry) ระดับความเข้มข้นของสารที่ได้รับ(Concentration) ระยะเวลาที่ได้รับสาร (Exposure Time) สภาวะร่างกายของแต่ละบุคคล (Physical Condition) พฤติกรรมส่วนบุคคล (Human Behaviour) สถานที่อยู่ ประวัติการทำงาน อาชีพปัจจุบัน และการป้องกันตนเอง กระบวนการผลิต การบรรจุ การสะสมและการขนส่ง ระดับความเข้มข้นของสารเคมีในร่างกาย

การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ตัวอย่างทางชีวภาพ ตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม