เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
สกลนครโมเดล.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ การประชุมกลุ่ม เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ กับความคาดหวังต่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ สู่การพัฒนาชุมชนที่เข้มแข็ง ใน ประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย วันที่ ๙ /๐๙ /๐๙ ณ รร.ภูเก็ตออร์คิด จังหวัดภูเก็ต

เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ การประชุมกลุ่ม เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ กับความคาดหวังต่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาชุมชนที่เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ประธาน นายแพทย์พนัส พฤกษ์นันท์ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ ๔ ราชบุรี วิทยากรนำกระบวนการ นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อำนวยการกองโภชนาการ นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธ์ ผู้อำนวยการกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ กองโภชนาการ ผู้ช่วยวิทยากร ดร.วณิชา กิจวรพัฒน์ กองโภชนาการ นายชัยชนะ บุญสุวรรณ กองโภชนาการ นางสาวมันทนา ศิลปะเวชกุล ศูนย์อนามัยที่ ๘ นครสวรรค์ นางหทัยรัตน์ สามิบัติ ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ เชียงใหม่ ผู้ประสานงาน นางสาวภคพิมล ไกรสร กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ นางสาวศรีสุดา เพชรเจิรญ สำนักส่งเสริมสุขภาพ ผู้ประกาศ นายอวัตถ์ เชาวน์ลิลิตกุล กองโภชนาการเพื่อสุขภาพ ผู้นำเสนอ คุณเฉลิมลักขณ์ วิจิตรานนท์ นวก.สาธารณสุข ชำนาญการ สสจ.สมุทรปราการ

ประเด็นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประชุมกลุ่ม เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ กับความคาดหวังต่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาชุมชนที่เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ประเด็นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการทำงานการส่งเสริมสุขภาพ ปี 2553 การนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ ความพร้อมเพื่อรองรับแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับชุมชน

กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย แผนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) กรมอนามัย พ.ศ. 2553 – 2556 กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย

แผนงานโครงการ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) พ.ศ. 2553 แผนงานโครงการ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) พ.ศ. 2553 โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ 1. โครงการจัดทำและถ่ายทอดแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการและการถ่ายทอดระดับ* 1.1 กรมอนามัยถ่ายทอดระดับประเทศ แก่ตัวแทน สสจ.1คน และตัวแทนจาก อำเภอ1 คน 1.2 จังหวัดไปถ่ายทอดแผนที่ยุทธศาสตร์ในตำบลนำร่อง 1 แผน การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ 1อำเภอ/1 จังหวัด 1 แผน/จังหวัด 1 ครั้ง มาตรการทางสังคมแต่ละชุมชน 2. โครงการติดตามและเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ของประชาชนในองค์กรต้นแบบไร้พุง - ข้อมูลรอบเอว - ข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูง อายุ 6-14 ปี - ข้อมูลพฤติกรรม 20 ข้อ จำนวนองค์กร 12 องค์กรนำร่อง/ 4 จังหวัด - กาญจนบุรี -มุกดาหาร - ลำปาง - ตรัง ได้องค์กรนำร่อง12 องค์กร

แผนงานโครงการ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) พ.ศ. 2553 แผนงานโครงการ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) พ.ศ. 2553 โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ 3. โครงการพัฒนาเครือข่ายองค์กรต้นแบบ ไร้พุง องค์กรต้นแบบไร้พุงเป็นศูนย์เรียนรู้ 300 องค์กรเดิม และ เพิ่มเครือข่าย 1-2 แห่ง (เป้าปี2553 จำนวน 130 องค์กร: 65 อปท. , 35 ภาครัฐ/เอกชน, 30 โรงเรียน ) ได้องค์กรต้นแบบไร้พุงเป็นศูนย์เรียนรู้ 300 องค์กร ขยายเพิ่มอีก 130 องค์กร

โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ 4. โครงการส่งเสริมร้านอาหารต้นแบบไร้พุง ร้านอาหาร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 ร้าน ร้านอาหารต้นแบบไร้พุง 200 ร้าน 5. โครงการส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบไร้พุงโดยใช้กระบวนการ Customer Relation Management (CRM) โรงเรียนต้นแบบไร้พุง 24 โรงเรียน (ศูนย์เขตละ 2 รร.) โรงเรียนต้นแบบไร้พุง 24 โรงเรียน 6. โครงการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข / องค์กร สู่การเป็นต้นแบบ DPAC - มีสถานที่หรือมุมห้อง/mobile ในรพ. - มีบุคลากรรับผิดชอบให้คำปรึกษา 3 อ. - มีอุปกรณ์สนับสนุนเช่นเครื่องนับก้าว จำนวนสถานบริการสาธารณสุข 24 (ขยาย ศูนย์เขตละ 2 แห่ง) คลินิกไร้พุง 24 แห่ง

จำนวนครอบครัวต้นแบบไร้พุง โครงการ / กิจกรรม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์ 7. โครงการรณรงค์ครอบครัวต้นแบบไร้พุง Air War 4 กลุ่มเป้าหมาย 1) หัวหน้าหน่วยราชการส่วนภูมิภาค 2) นายก อปท. 3) ครอบครัวเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ อบต. 1 แห่ง 4) ครอบครัวบุคลากรในสสจ. Ground War 2 แห่ง โดยศูนย์อนามัยดำเนินการ - Road Show เชียงใหม่ - Road Show นครศรีธรรมราช - กรมอนามัยจัดประชุมและpress tour ให้กับผู้สื่อข่าวท้องถิ่น 75 จังหวัด จำนวนครอบครัวต้นแบบไร้พุง ประชุม/press tour 75 จังหวัด 1 ครั้ง