Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
สาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์
Health Promotion/Prevention
ข้อแนะนำการใช้บทเรียนบน web เรื่อง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
ความน่าจะเป็น (Probability)
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
Teaching procedural skill
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
Thailand Research Expo
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
Myasthenia Gravis.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
25/07/2006.
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ภาวะไตวาย.
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
คุณลักษณะเฉพาะของผู้ประกอบอาชีพ
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
“ ASTHMA Clinic in THABO Crow Prince Hospital”
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย
EASY ASTHMA CLINIC โรงพยาบาลนครพนม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ตุลาคม 2553 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion รองศาสตราจารย์นายแพทย์วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและวัณโรค ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

Methacholine Challenge Test ความเป็นมา ข้อบ่งชี้และข้อห้าม วิธีการ การแปลผล ข้อมูลในประเทศ การสาธิต

Am J Respir Crit Care Med Vol 161. pp 309–329, 2000

ภาวะหลอดลมไวเกิน Bronchial Hyperresponsiveness (BHR) โรคหืด = ภาวะหลอดลมไวเกิน + อาการ การตรวจความไวหลอดลม (Bronchoprovocative test) ไม่จำเพาะ (nonspecific) Methacholine Histamine Adenosine จำเพาะ Allergen challenge test

Bronchoprovocative Test

ข้อบ่งชี้ (Indication) โรคหืดที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจ spirometry อาการไอเรื้อรังจากโรคหืด (cough-variant) ประเมินความรุนแรงของโรค ประเมินการตอบสนองต่อการรักษา โรคหืดจากอาชีพ (occupational asthma) ข้อบ่งชี้ทางกฏหมาย การวิจัย

ข้อห้าม (Contraindication) ภาวะหลอดลมอุดกั้นรุนแรง FEV1<50% หรือ <1 L โรคหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดสมอง ภายใน 3 เดือน ความดันโลหิตสูง SBP >200 หรือ DBP >100 mmHg โรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง

ข้อควรระวัง (Relative contraindication) ภาวะหลอดลมอุดกั้นปานกลาง FEV1<60% หรือ <1.5 L ไม่สามารถตรวจ spirometry ได้ ตั้งครรภ์ ให้นมบุตร ได้รับยากลุ่ม cholinesterase inhibitor

คุณสมบัติของผู้ทำการทดสอบ มีความรู้และคุ้นเคย สามารถใช้และดูแลเครื่องมือได้ มีความชำนาญในการตรวจ spirometry รู้ข้อห้ามและข้อควรระวัง สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ในกรณีฉุกเฉิน มีความชำนาญในการใช้ยาและเครื่องพ่นละออง

ความปลอดภัยต่อผู้ป่วย (Safety) มีแพทย์หรือบุคลากรที่ได้รับการฝีกฝนอยู่ มียาและเครื่องมือพร้อมเสมอ ข้อมูลด้านความปลอดภัย ยังไม่มีรายงานถึงผลข้างเคียงรุนแรง ผลข้างเคียงชั่วคราว เหนื่อย แน่นหน้าอก วี้ด

ความปลอดภัยต่อผู้ทดสอบ ห้องตรวจควรมีอากาศถ่ายเท (>2 exchanges/h) ผู้ตรวจยืนห่างพอสมควร ผู้ตรวจที่เป็นโรคหืด ควรมีการป้องกันเพิ่มเติม อุปกรณ์ Filters, fume hood, dosimeter

เครื่องพ่นละออง (Nebulizer) Wright nebulizer DeVilbiss 646

การเตรียมผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยหยุดยาบางขนาน อธิบายผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยลงลายมือชื่อยินยอม ทบทวนข้อควรระวังและการใช้ยาของผู้ป่วย ทำการตรวจในท่านั่งที่สบาย

ปัจจัยที่มีผลต่อความไวหลอดลม

ปัจจัยที่เพิ่มความไวหลอดลม ระยะเวลา สารก่อภูมิแพ้ในบรรยากาศ 1-3 สป. สารก่อภูมิแพ้จากอาชีพ เดือน การติดเชื้อทางเดินหายใจ 3-6 สป. มลภาวะทางอากาศ 1 สป. ควันบุหรี่ ไม่แน่นอน สารเคมี วัน-เดือน

Dosing protocol 2-min Tidal breathing method 0.03, 0.06, 0.125, 0.25, 0.50, 1, 2, 4, 8, 16 Five breath dosimeter method 0.0625, 0.25, 1, 4, 16 mg/ml

Five Breath Dosimeter Method (1) เตรียมเครื่องพ่นละออง เตรียมน้ำยา methacholine (Diluent) 0.0625, 0.25, 1, 4, 16 mg/ml นำออกจากตู้เย็น 30 นาทีก่อนการตรวจ บรรจุน้ำยา 2 มล. ใน nebulizer ตรวจ baseline spirometry ให้ผู้ปวยถือ nebulizer ตั้งตรง ใช้ปากคาบ mouthpiece ติด noseclip เปิด nebulizer พร้อมบอกให้ผู้ป่วยหายใจเข้าช้าๆและลึกจนเต็มปอด ใช้เวลาประมาณ 5 วินาที และ กลั้นนิ่งไว้อีก 5 วินาที ทำซ้ำดังข้างต้นจนครบ 5 ครั้ง ใช้เวลาทั้งหมดไม่เกิน 2 นาที

Five Breath Dosimeter Method (2) วัด FEV1 ที่เวลา 30 และ 90 วินาที หลังจากนั้น หากไม่ได้ acceptable curve ให้วัดซ้ำได้แต่ไม่เกิน 3-4 ครั้งในแต่ละความเข้มข้น และไม่ควรเกิน 3 นาที ให้รักษาช่วงห่างระหว่างแต่ละความเข้มข้น 5 นาที ให้ใช้ค่า FEV1 สูงสุดของแต่ละความเข้มข้น ถ้าค่า FEV1 ลดลงน้อยกว่า 20% ให้ทำเหมือนเดิมที่ความเข้มข้นถัดไป ถ้าค่า FEV1 ลดลงมากกว่า 20% ให้หยุด บันทึกอาการและอาการแสดง บริหารยา inhaled B-agonist รอ 10 นาที วัด FEV1 ซ้ำ

Bronchoprovocative Test

การแปลผล

การแปลผล

การแปลผลการตรวจ >16 Normal bronchial responsiveness 4.0-16 PC20 (mg/ml) การแปลผล >16 Normal bronchial responsiveness 4.0-16 Borderline BHR 1.0-4.0 Mild BHR (positive test) <1.0 Moderate to severe BHR

การแปลผลการตรวจ

BHR in Thailand 5 Geographical regions Central North-eastern Southern Chiangrai Nan Phrae Lampoon Udon Sakon Nakhon Phanom Ubon Surin Buriram Ratchasima Suphan Pathum Nontaburi Rayong Patthalung Narathiwat Prachuab Phuket BHR in Thailand 5 Geographical regions Central North-eastern Southern Northern Bangkok

ความชุกในประเทศไทย Case Total Prevalence (%) 95% CI BHR 104 3141 3.31 2.68-3.94 Definite asthma 92 3163 2.91 2.32-3.50 Diagnosed asthma 112 3443 3.25 2.66-3.84

Region-specific Prevalence of BHR

Age-specific Prevalence of BHR

Sex-specific Prevalence

Methacholine Challenge Test ความเป็นมา ข้อบ่งชี้และข้อห้าม วิธีการ การแปลผล ข้อมูลในประเทศ การสาธิต

Thank you