เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เด็ก ปี 57
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
โครงการพัฒนาเว็บ ไซด์โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ นางเสาวลักษณ์ พัวพัฒ นกุล นางทัศณีย์ ทองอ่อน.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
การฝึกงานนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
แนวทาง การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การจัดทำ Research Proposal
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
กลุ่มบริหารกฎหมายสาธารณสุข กรม อนามัย
กระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชี้แจงการแบ่งกลุ่ม Workshop : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ห้อง รูปแบบการเรียนรู้ : ไม่หมุนฐานใหญ่ ห้องที่ 1 : การติดตามภาวะโภชนาการและฝึก ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป.
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ขั้นตอนการประเมินสมรรถนะและการวางแผนพัฒนารายบุคคล
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ชัฌฎา ลอม ศรี นักจิตวิทยา แนวทางการ ดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ภายใต้ โครงการ “ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง” วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ ภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป

ตัวแปรที่เก็บข้อมูล ด้านบุคคล - เด็กนักเรียน 1. เพศ 2. อายุ 3. ชั้นเรียน 4.น้ำหนัก 5.ส่วนสูง - บุคคลทั่วไป 1. เพศ 2. อายุ 3. รอบเอว 4.น้ำหนัก พื้นที่ 1. เขตเมือง 2.ชนบท องค์กร 1. อปท. 2.องค์กรทั่วไป 3.โรงเรียน

ผังการเก็บข้อมูล

การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 1. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 % 2.ใช้สูตรคำนวณ 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจำนวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามีจำนวนมาก 2.2 กรณีที่ทราบจำนวนประชากรและมีจำนวนไม่มาก 3. กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan ตารางแสดงจำนวนประชากรและจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ของ Krejcie and Morgan จำนวนประชากร จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 10 50 100 14 80 500 1000 2000 217 278 322 5000 50000 100000 357 381 384

วิธีการกำหนดขนาดตัวอย่าง 2. ใช้ตารางสำเร็จรูป 2.1 เครจซี่ และมอร์แกน 2.2 ยามาเน่ 3. ใช้สูตรคำนวณ สูตรยามาเน่ n = N 1 + Ne2

การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เมื่อได้เลือกกลุ่มแล้ว จะเลือกเอากลุ่มตัวอย่างในกลุ่มนั้นทั้งหมดซึ่งแตกต่างจากการทำ stratify sampling

แผนภาพแสดงลักษณะการจัดกลุ่มที่ถูกต้องในการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม

การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นชั้นย่อย ๆ (Strata) เสียก่อนบนพื้นฐานของระดับของตัวแปรที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม โดยมีหลักในการจัดแบ่งชั้นภูมิให้ภายในชั้นภูมิแต่ละชั้นมีความคล้ายคลึงกัน (Homogeneous) หรือมีลักษณะที่เหมือนกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ระหว่างชั้นภูมิให้มีความหลากหลาย (Heterogeneous) หรือมีความแตกต่างกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และหลังจากที่จัดแบ่งชั้นภูมิเรียบร้อยแล้วจึงสุ่มตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิ

แผนภาพแสดงลักษณะการจัดชั้นภูมิที่ถูกต้อง ในการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ

ศูนย์ประสานงานโครงการ ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง ตั้งอยู่ที่   ชั้น 5 กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี โทร. 02-5904362 Fax: 02-5904362 ,02-5904333 E-mail: king4304@gmail.com กองโภชนาการ http://nutrition.anamai.moph.go.th หัวหน้าคณะทำงานบริหารโครงการ : นายอวัตถ์ เชาวน์ลิลิตกุล : 089-6120376 ผู้ประสานโครงการ : นายนำพล โยธินวัฒนะ 089-8127606 / IT :ชัยชนะ 080-081-0389 วิชาการ ดร.วณิชา กิจวรพัฒน์ : 089-5510113/ M&E : นงพะงา 081-562-6962 : การเงิน: เกษร 084-101-9988