สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การแต่งกายของนักเรียน
การบริหารคณะกรรมการความปลอดภัยฯ
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มที่ 1.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี

สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน สถานีอนามัยตำบลสมอพลือ มุ่งมั่นพัฒนา เพื่อให้เป็น สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน ที่ยั่งยืน ตลอดไป

โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ปี พ.ศ. 2545 , ปี พ.ศ. 2546 สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี เกียรติบัตรรับรองทอง โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ปี พ.ศ. 2545 , ปี พ.ศ. 2546 พ.ศ.2547 และ ปี พ.ศ.2548 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

องค์ประกอบการส่งเสริม นโยบาย การพัฒนาที่ยั่งยืน เกณฑ์ประเมิน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 5 ส ความสำคัญของโครงการ องค์ประกอบการส่งเสริม สุขภาพ 4ประการ สถานีอนามัย ส่งเสริมสุขภาพ กฎบัตร ออตตาวา2529 สิ่งแวดล้อม เพื่อการสร้างสุขภาพ

หลักการและแนวคิด ผลที่เกิดขึ้น 1. คนทำงานเกิดความตระหนักในเรื่องสุขภาพมากขึ้น 2. คนทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี แนวคิดของโครงการสถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงาน 1. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงานอย่างต่อเนื่อง 2. การส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกายและใจ 3. สุขภาพของบุคลากรส่งผลกระทบโดยตรง

ความหมายของสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน หมายถึง สถานที่ทำงานที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของบุคลากรทุกคน ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งหมายถึง สถานีอนามัยสมอพลือ ผู้ปฎิบัติการ หมายถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้มารับบริการ หมายถึง ผู้ป่วย ประชาชน และชุมชน ให้เกิดความสุขกาย สบายใจในการทำงาน

วัตถุประสงค์ 1. ให้บุคลากรทุกคนเห็นความสำคัญและเกิดความตระหนัก 1. ให้บุคลากรทุกคนเห็นความสำคัญและเกิดความตระหนัก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ โดยกำหนดเป็นนโยบายของ สถานีอนามัยสมอพลือ 2. บุคคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน 3. เพื่อให้สถานีอนามัยสมอพลือเป็นสถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงานตามเกณฑ์การประเมิน และเป็นต้นแบบขยาย เครือข่ายต่อองค์กรอื่น

ประโยชน์ของการดำเนินการ หน่วยงานองค์กรภายนอก เกิดความสัมพันธ์ ที่ดีของบุคลากร เกิดประสิทธิภาพ ในการทำงาน ประชากรของประเทศ มีคุณภาพ ประโยชน์ของการดำเนินการ ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มผลผลิต ได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนจาก หน่วยงานองค์กรภายนอก เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ต่อสถานที่ทำงาน ลดมลพิษที่เกิดจาก กระบวนการทำงาน

ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การบริหาร นโยบาย จัดการ ความสัมพันธ์ระหว่าง สถานีอนามัย - ชุมชน การสนับสนุน การมีส่วนร่วม การบริการ ด้านสุขภาพ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ปัจจัยพื้นฐาน มีกิจกรรม ชมรมต่างๆ สิ่งแวดล้อม ทางสังคม บุคลากรทุกคน มีพฤติกรรมที่ เอื้อต่อการมีสุขภาพ ด้านสัมพันธ์ระหว่าง บุคลากรด้วยกัน ผู้บริหาร กับบุคลากร

สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน แนวทางการดำเนินงาน สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ขั้นตอนการดำเนินการ - ศึกษาข้อมูล เกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน - วิเคราะห์ความพร้อม ปัจจัยพื้นฐาน เป้าหมายของการดำเนินการ - จัดทำแผนงานโครงการอย่างเป็นระบบ รัดกุม ครอบคลุมเป้าหมาย -นำเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ เสนอแนะ หาแนวร่วม - จัดองค์กร คณะกรรมการ คณะทำงาน กำหนดขอบข่ายบทบาทหน้าที่ - ติดตามประเมินผล ปรับปรุงแก้ไข สนับสนุนให้กำลังใจ - เสนอเข้าร่วมโครงการ - พัฒนาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องยั่งยืนแบบมีส่วนร่วมของ สอ.และชุมชน - ขอรับการประเมินเพื่อรับรองให้เป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน

สิ่งที่เราชาวสอ.สมอพลือมุ่งหวังให้เป็น สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน สะอาด - ถูกสุขลักษณะด้วยความร่วมมือ ร่วมใจ - ไม่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ปลอดภัย - ไม่เกิดความเดือดร้อน รำคาญ สิ่งแวดล้อมดี - อยู่อาศัยด้วยความสุขกาย สบายใจ มีชีวิตชีวา นำผลพาสู่สุขภาพดี ความสมบูรณ์ที่เชื่อมโยงระหว่างกายใจ สังคม วิญญาณ

ตรวจสุขภาพ ประจำปี ข้อมูล ข่าวสาร จัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพกาย สุขภาพจิต ส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน สิ่งเสพย์ติด-เพศสัมพันธ์ จัดบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อม คำปรึกษา ด้านสุขภาพ ตรวจสุขภาพ ประจำปี นโยบาย สอ.สมอพลือ สถานที่น่าอยู่น่าทำงาน การบริการ สุขภาพ มาตรฐานคุณภาพ ทางโภชนาการและอาหาร ข้อมูล ข่าวสาร การเรียนรู้และการปฎิบัติตน ตามแนวทางส่งเสริมสุขภาพ การมีส่วนร่วม สถานีอนามัย-ชุมชน

การสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วนร่วมของบุคลากร การสนับสนุนขององค์กร ส่วนที่ 1 การสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วนร่วมของบุคลากร ข้อมูลพื้นฐาน การสนับสนุนขององค์กร การติดต่อสื่อสาร ติดตามทบทวน การมีส่วนร่วม

เกณฑ์สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา ส่วนที่ 2 เกณฑ์สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา ด้านความสะอาด - นโยบายและการกำหนดแนวปฏิบัติ - อาคารสถานที่ - บริเวณพื้น และพื้นทางเดิน ทางขนย้าย ทางเพื่อการจราจร - บริเวณที่จัดเก็บวัสดุสิ่งของ - บริเวณโรงอาหารหรือที่รับประทานอาหาร - สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้ปฏิบัติงาน - การกำจัดของเสีย - การควบคุมสัตว์แทะและแมลง

ด้านความปลอดภัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน สภาพการทำงานที่ปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย บันทึกข้อมูลสุขภาพ ด้านความปลอดภัย เครื่องจักร/อุปกรณ์/เครื่องใช้ สภาพแวดล้อมในการทำงาน สภาพการทำงานที่ปลอดภัย

ด้านสิ่งแวดล้อมดี เสียง ความสั่นสะเทือน ขยะ/ของเสีย สารเคมี

ด้านมีชีวิตชีวา - มีสถานที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร - ส่งเสริมการให้ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมการละ เลิก บุหรี่และสารเสพย์ติด - การตรวจสุขภาพประจำปี - การให้บริการ สุขภาพ อนามัย - มีการจัดตั้งกลุ่มแกนนำ และอบรมส่งเสริมสุขภาพ - กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆ อย่างชัดเจน - จัดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกาย นันทนาการ - กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ

ระดับเหรียญทอง สถานีอนามัยตำบลสมอพลือ ขอขอบพระคุณอย่างสูง ที่ได้รับเกียรติและโอกาส ให้ได้เป็นสถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงาน ระดับเหรียญทอง