แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR)
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ 1. ชื่อแผนงาน/โครงการ การพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี และบุคลากรของ สสวท. เทียบเท่ากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. ความเป็นมา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่โดยตรง - ด้านการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี - ด้านการพัฒนาและส่งเสริม สนับสนุนครู วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี - ด้านการเสริมสร้างและสนับสนุนนักเรียน ครู ที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ตรงกับความต้องการของประเทศตามนโยบายของรัฐบาล

3. ความเป็นมา การดำเนินการพัฒนาองค์กรให้บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง จำเป็นต้องมีทรัพยากรบุคคลในสังกัดที่ประกอบไปด้วยความรู้ ทักษะ ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับสูง - ด้านวิชาการเฉพาะทางทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี - ด้านการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับการจัดการทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Skills) - ด้านอื่น ๆ เพื่อให้มีความสามารถในการบริหารและดำเนินภารกิจต่าง ๆ ขององค์กรให้บรรลุเป้าหมาย

3. ความเป็นมา ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาครูผู้สอน นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องในแต่ละท้องถิ่น อันเป็นการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าสืบไป ปัจจุบันการขาดแคลนครู นักเรียน และบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ยังเป็นปัญหาหลักของประเทศ การขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ซึ่งเป็นเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาในระบบสู่การปฏิบัติจริงจากการทำงาน จึงเป็นหนทางที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่จะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้สูงขึ้นอย่างรวดเร็วต่อไป

4. วัตถุประสงค์ เพื่อเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่การพัฒนา 4. วัตถุประสงค์ เพื่อเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่การพัฒนา กำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อจัดทำมาตรฐานพนักงานขององค์กร คู่มือและ เกณฑ์การประเมิน การประกันคุณภาพ และการพัฒนาพนักงานขององค์กร ให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถ อย่างเหมาะสมในสายงานของแต่ละตำแหน่ง เพื่อจัดทำมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี คู่มือและเกณฑ์การประเมิน การให้รางวัลเชิดชูเกียรติครู เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพและการส่งเสริมและสนับสนุนครูให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างครูมืออาชีพ

5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ (Quantity) 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ (Quantity) เอกสารแสดงถึงการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 1 ชุด 2. เอกสารที่แสดงมาตรฐานพนักงานขององค์กร คู่มือ และเกณฑ์การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนาพนักงานขององค์กร ให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ อย่างเหมาะสมในสายงานงานของแต่ละตำแหน่ง จำนวน 1 ชุด เอกสารที่แสดงมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือและเกณฑ์การประเมิน การให้รางวัลเชิดชูเกียรติครู เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพและการส่งเสริมและสนับสนุนครูให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างครูมืออาชีพ จำนวน ๑ ชุด

5. เป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ (Quality ) 5. เป้าหมาย 5.2 เชิงคุณภาพ (Quality ) เอกสารที่แสดงการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ผ่านการประชาวิจารณ์จากผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน ๑ ชุด 2. พนักงานขององค์กรได้รับการส่งเสริม สนับสนุนและ พัฒนาให้มีระดับความรู้ ทักษะและความสามารถ ตาม ตำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบตรงตามมาตรฐาน ของตำแหน่ง และสามารถผ่านการประเมินตามเกณฑ์ ที่ สสวท. กำหนด ครูและบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี ในแต่ละวิทยฐานะสามารถปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่ สสวท กำหนดและได้มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ของ สสวท.

มาตรการ / วิธีดำเนินการ (How) กลุ่มเป้าหมาย (Who/Where) 6. แผนปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ (What) มาตรการ / วิธีดำเนินการ (How) กลุ่มเป้าหมาย (Who/Where) ระยะเวลา (When) การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เทียบเท่ากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ๑. เทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่ การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี พนักงานองค์กร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตุลาคม ๒๕๕๗ - กันยายน ๒๕๕๘ ๒. จัดทำมาตรฐานตำแหน่งพนักงานขององค์กร คู่มือและเกณฑ์การประเมิน การประกันคุณภาพ การพัฒนาพนักงานขององค์กร ให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถอย่างเหมาะสมในสายงานงานของแต่ละตำแหน่ง ๓. จัดทำมาตรฐานครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือและเกณฑ์การประเมิน การให้รางวัลเชิดชูเกียรติครู เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพ และการส่งเสริมและสนับสนุนครู ให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอนอย่างครูมืออาชีพ

ใช้ทรัพยากรของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. ทรัพยากร ใช้ทรัพยากรของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. งบประมาณ ใช้งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจาก สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และ/หรือ งบประมาณของ สสวท. ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

9. ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) 9.1 ร้อยละ 90 ของจำนวนพนักงานของ สสวท. ได้รับการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนให้มี ความรู้ ทักษะ และความสามารถ ได้ตรงตาม มาตรฐานตำแหน่งของขององค์กร สามารถ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่ สสวท. กำหนด 9.2 ร้อยละ 90 ของครูและบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ผ่านการพัฒนา จาก สสวท. ในแต่ละวิทยฐานะ สามารถปรับการ เรียนเปลี่ยนการสอน ผ่านเกณฑ์การประเมิน และได้มาตรฐานตามที่ สสวท. กำหนด

10. การติดตาม / ประเมินผล วิจัย ติดตามและประเมินผลการดำเนินการของ โครงการ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11.1 ร้อยละ 90 ของจำนวนพนักงานของ สสวท. ได้รับการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้ ทักษะและความสามารถได้ตรงตามมาตรฐาน ตำแหน่งขององค์กร สามารถผ่านการประเมิน ตามเกณฑ์ที่ สสวท. กำหนด 11.2 ร้อยละ 90 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ผ่านการพัฒนาจาก สสวท.ในแต่ละวิทยฐานะ สามารถปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ผ่าน เกณฑ์การประเมินและได้มาตรฐานตามที่ สสวท. กำหนด

12. ผู้รับผิดชอบโครงการ - สำนักบริหารเครือข่ายและพัฒนาวิชาชีพครู สสวท. - ฝ่ายทรัพยากรบุคคล สสวท.