การนำเสนอ การเยี่ยมสำรวจภายใน วันที่ 13 ตุลาคม 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
การจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทางวิชาการ 27 ตุลาคม 2551
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
หลักการเขียนโครงการ.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอ การเยี่ยมสำรวจภายใน วันที่ 13 ตุลาคม 2552 การนำเสนอ การเยี่ยมสำรวจภายใน วันที่ 13 ตุลาคม 2552 ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ภาควิชาชีวเคมี ระบบการนำ จะเป็นผู้นำทางวิชาการ และวิจัยด้านชีวเคมีทางการแพทย์ และชีววิทยาระดับโมเลกุล มุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ทันสมัย และการวิจัยที่ได้มาตรฐานสากล มีหน้าที่ ร่วมจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิต ทำการวิจัย และให้บริการทางวิชาการอย่าง มีคุณภาพ และทันสมัยได้มาตรฐานสากล

ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ พันธกิจ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ 1. ด้านการศึกษา ทันสมัย ได้มาตรฐาน เป็นที่พึง พอใจของนักศึกษา 2. ด้านการวิจัย มีคุณภาพ และเป็นที่ยอมรับทั้งใน ประเทศ และต่างประเทศ 3. ด้านงานบริการ ทางวิชาการ ถูกต้อง และได้มาตรฐาน 4. ด้านงานธุรการ สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ประหยัด และมีประสิทธิภาพ

ทรัพยากร ทรัพยากรบุคคล ภาควิชาชีวเคมีมีจำนวนบุคลากร ทั้งสิ้น 47 คน ปฏิบัติงานจริง 41 คน โดยแบ่งเป็น อาจารย์ 15 คน (ศึกษาต่อ 6 คน) (MD – PhD 4 คน) 2. แพทย์ใช้ทุน 6 คน 3. นักวิทยาศาสตร์ (ป.เอก) 2 คน 4. นักวิทยาศาสตร์ (ป.โท) 7 คน 5. นักวิทยาศาสตร์ (ป.ตรี) 3 คน 6. ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 คน 7. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 1 คน 8. ผู้ปฏิบัติงานบริหาร 3 คน 9. ช่างอิเล็คทรอนิคส์ 1 คน 10. คนงาน 7 คน

โครงการวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ 11 ทรัพยากร (คน) และปริมาณงาน (หลักสูตร งานวิจัย) ที่สำคัญของภาควิชา ด้านการศึกษา และการวิจัย จำนวน 2550 2551 2552 นักศึกษาปริญญาโท 21 19 17 นักศึกษาปริญญาเอก 8 9 นักศึกษาต่างชาติ 2 3 6 รายวิชาที่รับผิดชอบ 10 โครงการวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ 11

ความท้าทาย ความเสี่ยงสำคัญ จุดเน้นในการพัฒนาของภาควิชา ความเสี่ยง/ ความท้าทายที่สำคัญ กิจกรรมที่ตอบสนอง และจัดเป็นจุดเน้นใน การพัฒนางาน เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด 1. ด้านการศึกษา “โครงการเพิ่มสัดส่วน นศ.ปริญญาโทที่จบการศึกษาภายใน 3 ปี และ นศ.ปริญญาเอกที่จบการศึกษาภายใน 4/6 ปีให้ได้ถึง 75 %” 1.1 เพื่อพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร บัณฑิตศึกษาและการกระบวนการ จัดการเรียนรู้ และการประเมินผลให้ สอดคล้องกับนโยบาย competency based education ของคณะฯ 1.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพและ ความสามารถของนักศึกษา บัณฑิตศึกษา ให้สามารถสำเร็จ การศึกษาภายในเวลา 3 ปี สำหรับ ปริญญาโท และภายในเวลา 4/6 ปี สำหรับปริญญาเอก อย่างน้อย 75% 1.3 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกการมีวิริยะ อุตสาหะให้กับ นักศึกษาบัณฑิตศึกษา อันจะนำไปสู่ การพัฒนาศักยภาพ และ ความสามารถของนักศึกษาต่อไป 1.1 นศ. ป.โท ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 3 ปี ถึง 75% 1.2 นศ. ป.เอก ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 4/6 ปี ถึง 75%

เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ ความเสี่ยง/ ความท้าทายที่สำคัญ กิจกรรมที่ตอบสนอง และจัดเป็นจุดเน้นใน การพัฒนางาน เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด 2. ด้านการวิจัย “โครงการเพิ่มงานวิจัยที่สามารถสร้างผลงานตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการที่มี impact factor ให้ได้อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี” 2.1 เพื่อเพิ่มงานวิจัยที่ สามารถสร้างผลงานตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่มี impact factor ให้ได้อย่าง น้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี 2.2 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการ สร้างจิตสำนึก การเพิ่ม งานวิจัยให้กับบุคลากร อัน จะนำไปสู่การพัฒนาขีด ความสามารถของภาควิชาฯ 2.3 เพื่อส่งเสริมให้มีการ รวมกลุ่มวิจัย และเพิ่ม ศักยภาพในการทำงานเป็น ทีมอย่างมีบูรณาการ 2.4 เพื่อพัฒนาระบบ data base ของงานวิจัยของ ภาควิชาฯ 2.1 จำนวนผลงานตีพิมพ์เผย แพร่ระดับนานาชาติที่มี impact factor อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี 2.2 บุคลากรทุกท่านมีจิตสำนึกใน การเพิ่มงานวิจัย อันจะนำไป สู่การพัฒนาขีดความ สามารถของภาควิชาฯ 2.3 มีการรวมกลุ่มวิจัย และเพิ่มศักยภาพในการ ทำงานเป็นทีมอย่างมี บูรณาการ 2.4 มีการ update ระบบ data base งานวิจัยของภาควิชาฯ อย่างต่อเนื่องทุก 3 เดือน

Area of excellence งานวิจัย เทคโนโลยี 1. Oxidative stress, antioxidants, anti-apoptosis in various diseases e.g. thalassemia, Alzheimer’s disease, metabolic syndrome, diabetes mellitus, osteoporosis, cardiovascular diseases, etc. ใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น tissue culture HPLC (High Performance Liquid Chromatography) Real-time PCR Stem cell culture Aptamer and siRNA technology etc. 2. Herbal medicine 3. Stem cell biology and its application 4. Molecular studies on various diseases e.g. cancer, diabetes mellitus, osteoporosis, cardiovascular diseases, obesity, metabolic syndrome, atherosclerosis, the molecular basis of elevated fetal hemoglobin levels, etc. 5. Mitochondrial biology 6. Aptamer and siRNA technology and its application in biomedicine

งานการศึกษา การวิจัย กระบวนการหลัก ตัวชี้วัด กิจกรรมทบทวน

กระบวนการหลักที่สำคัญ (Key Processes) ของหน่วยงาน กระบวนการสำคัญ (Key Process) สิ่งที่คาดหวัง (Process Requirement) ความเสี่ยงสำคัญ (Key Risk) ตัวชี้วัดสำคัญ (Performance Indicator) ด้านการศึกษา เตรียมการเรียนการสอน สอนนักศึกษา ประเมินผลการสอน ผู้เรียนสามารถอธิบายสาระสำคัญของเนื้อหาวิชา และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ อัตราส่วนของอาจารย์ต่อนักศึกษาไม่เพียงพอ อาจารย์บางส่วนให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนรองลงมาจากงานอื่นๆ สัดส่วนเนื้อหากับจำนวนชั่วโมงสอนไม่เหมาะสม ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมากเกิน 80% นักศึกษาสอบผ่านตามเกณฑ์ของภาควิชา 100% สัดส่วนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสำเร็จการศึกษาภายใน 3 ปี (ป.โท) และ 4/6 ปี (ป.เอก)เท่ากับ 75% นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษานำเสนอผลงานวิจัยอย่างน้อย 1 โครงการต่อคน เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ อย่างน้อย 20% ของนักศึกษาทั้งหลักสูตร

(Process Requirement) (Performance Indicator) กระบวนการสำคัญ (Key Process) สิ่งที่คาดหวัง (Process Requirement) ความเสี่ยงสำคัญ (Key Risk) ตัวชี้วัดสำคัญ (Performance Indicator) 2. ด้านการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การขอทุนวิจัย การทำวิจัย การเขียนรายงาน การตีพิมพ์ผลงานวิจัย เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ขาดทุนวิจัย จำนวนอุปกรณ์ และเครื่องมือทางห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอกับภาระงาน เพิ่มเงินทุนวิจัยที่ ได้รับจากภายนอกคณะฯ : ภายในคณะฯ จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี impact factor อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (Performance Indicator) ตัวชี้วัดสำคัญ เป้าหมาย การเทียบเคียง ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง 3 ปี) 2550 2551 2552 ด้านการศึกษา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมากเกิน 80% เป็นการเทียบเคียงภายใน (Internal Benchmarking) 90% นักศึกษาสอบผ่านตามเกณฑ์ของภาควิชา 100% 100% นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา นำเสนอผลงานวิจัยอย่างน้อย 1 โครงการต่อคน เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ 6.9% 11.1% 23.1% นศ. ป.โท ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 3 ปี 65% 70% นศ. ป.เอก ชีวเคมี (นานาชาติ) จบการศึกษาภายใน 4/6 ปี 62% 68%

กิจกรรมทบทวน ประเมิน เรียนรู้ (Performance) ยกตัวอย่างเหตุการณ์/ เรื่องที่มีการทบทวนอย่างเป็นรูปธรรม ผลลัพธ์/ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่เกิดขึ้น (เน้นเชิงระบบ) การเรียนการสอน การประชุมข้อสอบ แบบสอบถามจากนักศึกษาแพทย์ และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา มีข้อสอบที่ได้มาตรฐาน, ถูกต้อง และมีคุณภาพดี ปรับปรุงเนื้อหา และการจัดการเรียนการสอน โดยการเน้นผู้เรียนเป็นหลัก การวิจัย Research forum มีการสัมมนาทางวิชาการของ ภาควิชาฯ 2 ครั้ง/ปี

ด้านการวิจัย เพิ่มอัตราส่วนทุนวิจัยที่ได้รับจากภายนอกคณะฯ : ภายในคณะฯ ทุนภายในคณะฯ ทุนภายนอกคณะฯ หมายเหตุ : ทุนวิจัยที่ได้รับระหว่างเดือน มกราคม – กันยายน 2552

จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์อย่างน้อย 0.5 เรื่อง/คน/ปี หมายเหตุ : งานวิจัยระหว่างเดือน มกราคม – กันยายน 2552

งานสำนักงานภาควิชา กระบวนการหลัก ตัวชี้วัด กิจกรรมทบทวน

กระบวนการหลักที่สำคัญ (Key Processes) ของงานธุรการ 1. รับงาน รับ/ตรวจสอบ/จำแนก/ส่งต่อเพื่อดำเนินการ งานสารบรรณ งานบุคคล งานการเงิน/งบประมาณ งานบริการการศึกษา งานสารสนเทศ งานอาคารสถานที่ งานบำรุงรักษาวัสดุ และครุภัณฑ์ งานบริการทั่วไป 2. ดำเนินการ ปฏิบัติตามขั้นตอน/ ระเบียบ และ วิธีปฏิบัติงานของเรื่องนั้นๆ 3. นำเสนอผู้บังคับบัญชา ผู้มีอำนาจสั่งการ 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภายในดำเนินการ ส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน-ภายนอกภาควิชาฯ 5. กำกับ/ควบคุม ติดตาม/ตรวจสอบ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกภาควิชา ประเมินผลการปฏิบัติงาน

ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง3 ปี) ตัวชี้วัด งานธุรการ ตัวชี้วัดสำคัญ เป้าหมาย การเทียบเคียง ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง3 ปี) 2550 2551 2552 1.จำนวนบันทึกโต้ตอบทั่วไปที่ถูกตีกลับเนื่องจากไม่ถูกต้อง <5% ต่อปี จำนวนเรื่องที่ถูกตีกลับ เทียบกับจำนวนเรื่อง ส่งออกทั้งหมด 7 /1360 (0.51%) 20/1707 (1.17%) 5/1018 (0.49%) 2.จำนวนเรื่องที่ต้องใช้เวลาในการสืบค้นเกิน 2 นาที 0 เรื่อง นับเวลาตั้งแต่เริ่มค้นหาเอกสารที่จัดเก็บไว้ตามความต้องการของผู้รับบริการจนพบเอกสาร 2 3.จำนวนเรื่องขอซื้อขอจ้าง(PR)ภาควิชาที่ถูกตีกลับเนื่องจากไม่ถูกต้อง <5 เรื่องต่อปี นับเฉพาะเรื่องที่ผิดพลาดโดยสำนักงานภาควิชา 3 4.จำนวนรายการงบลงทุนที่ไม่สามารถดำเนินการจัดซื้อได้ทันในปีงบประมาณ 0% นับเฉพาะรายการที่ได้รับอนุมัติ(งบลงทุน)และการดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณ

ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง3 ปี) ตัวชี้วัดสำคัญ เป้าหมาย การเทียบเคียง ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (ย้อนหลัง3 ปี) 2550 2551 2552 5.จำนวนรายการครุภัณฑ์ที่ปรากฏว่าสูญหาย 0% นับรายการครุภัณฑ์ที่พบว่าสูญหายไม่สามารถค้นหาได้ 6.จำนวนเรื่องเบิกเงินที่ถูกตีกลับเนื่องจากเอกสารไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน <5% นับเป็นจำนวนเรื่องที่ผิดพลาดโดยสำนักงานภาควิชาภายในปีงบประมาณ 5% 3% 1% 7.จำนวนเรื่องแจ้งซ่อมที่ใช้เวลานับตั้งแต่รับเรื่องจนดำเนินการแจ้งซ่อมสำเร็จ เกิน 1 วันทำการและติดตามงาน นับตั้งแต่สำนักงานภาควิชาได้รับแจ้ง 8.ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยภาพรวมของสำนักงานภาควิชา >80% ผลการสำรวจจากแบบสอบถาม 62.0% 70.77% 73.33%

ยกตัวอย่างเหตุการณ์/ เรื่องที่มีการทบทวนอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรม ยกตัวอย่างเหตุการณ์/ เรื่องที่มีการทบทวนอย่างเป็นรูปธรรม ผลลัพธ์/ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่เกิดขึ้น (เน้นเชิงระบบ) การบันทึกการใช้ห้องประชุมในปฏิทินภาควิชาในระบบ SiNet การจองห้องโดยวิธีลงในแฟ้มมีประสิทธิภาพน้อย ผิดพลาดได้ง่าย ข้อมูลไม่มีความปลอดภัย เมื่อบันทึกข้อมูลการใช้ห้องในปฏิทินทำให้สามารถเปิดดูได้ทันที จากทุกเครื่องที่มีโปรแกรม SiNet การให้บริการใบลาในระบบ SAP บุคลากรที่ลาจะต้องเสียเวลาในการบันทึกใบลา บางครั้งข้อมูลบางอย่างต้องสอบถามเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล จึงทำให้ไม่สะดวก ประหยัดเวลา อำนวยความสะดวก มีความถูกต้องให้แก่บุคลากรที่จะลา ระบบติดตามการใช้เงินงบประเภทต่างๆ ในระบบ SAP การติดตามและรายงานการใช้เงินงบประมาณประเภทต่างๆ ต้องใช้เวลามากเนื่องจากต้องค้นข้อมูลจากเอกสารต่างๆ สามารถติดตามข้อมูลการใช้เงินงบประเภทต่างๆ รวดเร็วแม่นยำ ถูกต้อง อีกทั้งข้อมูลยังมีความปลอดภัย การสแกนเอกสารแทนการถ่ายสำเนา การส่งเอกสารที่มีข้อมูลหลายหน้า เช่น เอกสารงานวิจัย,เอกสารการเรียนการสอน และเอกสารขอซื้อขอจ้าง เป็นต้น แต่เดิมจะนำไปถ่ายสำเนาเก็บเป็นจำนวนมากทำให้เกิดความสิ้นเปลืองกระดาษและทำให้พื้นที่ในการจัดเก็บไม่เพียงพอ ค้นหาเอกสารไม่พบ จัดเก็บไม่เรียบร้อย ยากต่อการค้นหา มีความสะดวกในการจัดเก็บและค้นหา เอกสารมีความปลอดภัย ประหยัดพื้นที่ จัดเก็บ สอดคล้องตามนโยบายคณะฯ การใช้กระดาษอย่างมีประสิทธิภาพ โดยประหยัดกระดาษได้ถึง 50%

ความภาคภูมิใจและรางวัลที่ได้รับ รางวัล / ความภาคภูมิใจ ชื่อ/ประเภทผลงาน ตอบสนองจุดเน้นคณะฯ (ระบุหัวข้อ) ปีที่ได้รับรางวัล โครงการติดดาว (นวัตกรรมดีเด่น ประเภทหน่วยงาน) การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารจัดการเครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์ S3 – Produce Impact Research S4 – Provide the Qualified & Needed Medical Knowledge & Technology 2552 ผลงานวิทยานิพนธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ (ป.เอก) “การศึกษาชีวภาพความพร้อมของการดูดซึมและนำไปใช้ และผลในการยับยั้งการอักเสบและภาวะดื้อต่ออินสุลิน ของสารแซนโธนจากมังคุดในเซลล์ไขมันมนุษย์” (รศ.ดร.รัชนีกร กัลล์ประวิทธ์ เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์)

2552 รางวัล / ความภาคภูมิใจ ชื่อ/ประเภทผลงาน ตอบสนองจุดเน้นคณะฯ (ระบุหัวข้อ) ปีที่ได้รับรางวัล ผลงานวิทยานิพนธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ (ป.โท) “การยับยั้งการผลิตคอลลาเจนในเซลล์สร้างเส้นใยจากแผลคีลอยด์โดยใช้การแทรกแซงอาร์เอ็นเอ” (ผศ.ดร.นพ.ชัชวาลย์ ศรีสวัสดิ์ เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์) S3 – Produce Impact Research S4 – Provide the Qualified & Needed Medical Knowledge & Technology 2552 รางวัล ดีมาก ระดับปริญญาโท (กลุ่ม วิทยาศาสตรสุขภาพ) จากการประกวดการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 1. “ฤทธิ์ป้องกัน oxidative stress ของสารสกัดมังคุดต่อเซลล SK-N-SH ที่ถูกชักนําด้วยสาร -amyloid” (ศ.พญ.นีโลบล เนื่องตัน เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์) 2. “การยับยั้งการผลิตคอลลาเจนในเซลล์สร้างเส้นใยจากแผลคี-ลอยด์โดยใช้การแทรกแซงอาร์-เอ็นเอ” (ผศ.ดร.นพ.ชัชวาลย์ ศรีสวัสดิ์ เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์)

ผลงานวิทยานิพนธ์ 2 เรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ

“การศึกษาชีวภาพความพร้อมของการดูดซึมและนำไปใช้ และผลในการยับยั้งการอักเสบและภาวะดื้อต่ออินสุลิน ของสารแซนโธนจากมังคุดในเซลล์ไขมันมนุษย์” (รศ.ดร. รัชนีกร กัลล์ประวิทธ์ เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์)

“การยับยั้งการผลิตคอลลาเจนในเซลล์ สร้างเส้นใยจากแผล คีลอยด์ โดยใช้การแทรกแซงอาร์เอ็นเอ” ผศ.ดร.นพ. ชัชวาลย์ ศรีสวัสดิ์ เป็นผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์

แผนการที่จะพัฒนาต่อเนื่องต่อไป แผน/กิจกรรม วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ระยะเวลา แผนการปฏิบัติงานด้านการศึกษา ปรับปรุงหลักสูตร ปริญญาโท-เอก สาขาชีวเคมี 2. เพิ่มจำนวนนักศึกษา ต่างประเทศ 3. พัฒนาการประเมินการ สอนโดยนศพ.ชั้นปีที่ 2 - เพื่อพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ให้มีมาตรฐานระดับนานาชาติ อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาชาวต่างประเทศในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา - เพื่อทำแบบประเมินการสอนที่ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของ นศพ. - มีการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ให้มีมาตรฐานระดับนานาชาติ อย่างต่อเนื่อง มีนักศึกษาชาวต่าง ประเทศ ศึกษาร่วมกับนักศึกษาไทย 20% - มีแบบประเมินการสอนที่ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของ นศพ. 1 ปี แผนการปฏิบัติงานด้านการวิจัย ...... 1. จัดให้มีการสัมมนาทาง วิชาการ (research forum) อย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง - เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนางานวิจัยของภาควิชาฯ มีการสัมมนาทางวิชาการของภาควิชาฯ 2 ครั้ง/ปี อย่างต่อเนื่อง 2 ปี

แผน/กิจกรรม วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ระยะเวลา 1 ปี 4. ปรับปรุงกิจกรรมการเรียน การสอน นศพ. เพื่อหารูปแบบของกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมที่สุดสำหรับ นศพ. มีกิจกรรม KSA ที่ดีขึ้นและมุ่งเน้นการนำไปใช้ทางคลินิก 1 ปี แผนการปฏิบัติงานด้านการวิจัย 1. จัดให้มีการสัมมนาทาง วิชาการ (research forum) อย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง - เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนางานวิจัยของภาควิชาฯ มีการสัมมนาทางวิชาการของภาควิชาฯ 2 ครั้ง/ปี อย่างต่อเนื่อง 2 ปี

โครงการพัฒนาคุณภาพสำนักงานอย่างต่อเนื่อง ระบบงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่ได้จากความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาคุณภาพที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว การจัดการเอกสารด้วยระบบ SiNet การใช้ปฏิทินภาควิชาในระบบ SiNet ช่วยในการปฏิบัติงาน ระบบติดตามการใช้เงินงบประเภทต่างๆ การจัดฐานบุคลากรภาควิชา

Safety กิจกรรม 5 ส. เพื่อความสะอาด เรียบร้อย ของสถานที่ทำงาน ชั้น 13 สำนักงานภาค ชั้น 3 ห้องปฏิบัติการ ระเบียบปฏิบัติเรื่อง แนวทางการจัดการขยะภายในภาควิชาชีวเคมี ได้รับอนุมัติเมื่อ 13 สิงหาคม 2552

Effective communication ใช้ระบบสารสนเทศ เข้ามาช่วยในการดำเนินงาน ในเรื่องงานวิจัย การประชุมอบรม ประวัติบุคคล งานเอกสารหนังสือเวียนใน homepage มีประชุมภาควิชาทุกวันพุธแรกของเดือน มี webpage และ webboard

Health promotion hospital ทางด้านร่างกาย สนับสนุนให้ออกกำลังกาย จัดให้มีการเต้นแอโรบิด ทุกบ่ายวันศุกร์ ส่งอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เข้าอบรม Training for the Trainer รุ่นที่ 1 เพื่อมาเป็นครูสอนให้บุคลากรภายในภาควิชา ริเริ่มโครงการ “มาฝึกโยคะกันเถอะเพื่อสุขภาพที่ดี” เพื่อสอนโยคะระดับพื้นฐานให้กับผู้ที่สนใจ และผู้ที่เริ่มต้นฝึกโยคะ บุคลากรของภาควิชา มีความสงบด้านจิตใจ ความสมดุลทางอารมณ์ และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ทางด้านจิตใจ ส่งเสริมให้บุคลากรเจ้าหน้าที่เข้าวัดทำบุญอย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อทำให้จิตใจผ่องใสมีกำลังใจในการปฏิบัติงาน มีการรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันอย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อเป็นการสร้างความสามัคคี

Increase customer satisfaction ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยภาพรวมของสำนักงานภาควิชา เป้าหมาย มากกว่า 80% มีผลการสำรวจจากแบบสอบถาม ปี2550 = 62.0% ปี 2551 = 70.8% ปี 2552 = 73.3%

โอกาสพัฒนาจากการเยี่ยมสำรวจในครั้งก่อน ทางสำนักงานภาควิชา ได้ดำเนินการแล้ว จัดให้มีการสำรวจความพึงพอใจ ปีละครั้ง พิจารณาจัดเก็บข้อมูลความผิดพลาด เช่น เอกสารหาย เป็นต้น ห้องปฏิบัติการ ได้ดำเนินการแล้ว การ label สารเคมี การบันทึกอุณหภูมิตู้เย็นของ ตู้แช่แข็งทุกตู้ การทิ้งขยะโดยแยกประเภท