การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

Law on Natural Resource Management
มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จังหวัดภาคใต้ชายแดน 9.1 (ยะลา)
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การนำเสนอผลงานต่อณะ กรรมการตัดสินรางวัล STI THAILAND AWARD ประเภท วิสาหกิจชุมชน.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช โดย อ.อภินันท์ กำนัลรัตน์

วัตถุประสงค์ 1. ความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม/สร้างจิตสำนึก 2. แนวทางในการดำเนินการ หัวข้อ 1. สภาพปัญหา 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหา 3. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ 4. แนวทางของการแก้ปัญหา

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรที่สามารถสร้างทดแทนใหม่ได้ (Renewable Resources) ทรัพยากรที่ไม่สามารถมีการสร้างทดแทนได้ (Non-Renewable Resources) ทรัพยากรที่ไม่มีวันหมด (Perperual Resources) ความหมาย “ สิ่งแวดล้อม(Enviroment) ”: สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆสิ่งต่างๆเหล่านั้นอาจจะเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน ฟ้า อากาศ หรือสิ่งที่มีชีวิตต่างๆ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์เป็นต้น สิ่งแวดล้อมสามารถเปลี่ยนแปลงได้(Enviroment Change)และส่งผลกระทบ(Impact)ต่อคน และสิ่งมีชีวิตต่างๆได้

ผลกระทบของการพัฒนาการทางด้านเกษตรต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านบวก มูลค่าของผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้ของประชาชาติเพิ่มขึ้น สภาพของการอุปโภคบริโภค เครื่องอำนวยความสะดวกดีขึ้น ด้านลบ พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ผลกระทบต่อเนื่อง มลพิษจาการใช้สารเคมีเกษตร ความถดถอยของทรัพยากรดิน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สูญเสียแหล่งทรัพยากรพันธุกรรม(genetic resources) สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) และระบบนิเวศ ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม สูญเสียสมบัติส่วนรวมของชุมชน

การอนุรักษ์และการพัฒนา การพัฒนาที่ยั่งยืน(Sustainable development) การพัฒนาที่คำนึงถึงระบบนิเวศน์(Eco - development) การอนุรักษ์(Conservation) คือ การรักษาให้คงเดิม การสงวน(Protection) คือ การคงไว้ให้อยู่ในสภาพเดิมโดยไม่ต้องไปดำเนินการอะไร นักบริหารจัดการ “ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ”คือ แนวทางในการป้องกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่ให้ถูกทำลายหรือเสื่อมสภาพลง ความหมายอื่นๆ wise use, การถนอมให้คงสภาพ, การบูรณะหรือการฟื้นฟู(restoration) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ(development, management, recycle) การจัดการทรัพยกรอย่างยั่งยืน(Sustainable resource management) เกษตรยั่งยืน (Sustainable agriculture)

แนวทางการดำเนินการ มีหลายระดับ: 1. นโยบายของรัฐ 2. นักวิชาการ, นักส่งเสริม นักวิชาการเกษตร(ทัศนคติต่อการพัฒนาการเกษตร) 3. เกษตรกร ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง

แนวนโยบายรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่(2540-2544) พัฒนาการเกษตรที่กลมกลืนกับธรรมชาติโดยใช้ประโยชน์และรักษาความอุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายพันธุ์พืชและดิน เพิ่มบทบาทของประชาชนในการเรียนรู้การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการเตรียมคนและชุมชน เพื่อรองรับผลกระทบของการพัฒนาจากภาคนอกชนบท สนับสนุนให้มีการผสมผสานมิติทางด้านสิ่งแวดล้อมเข้ากับมิติทางด้านเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชนิดหรือแบบที่ก่อผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตน้อยที่สุด ให้มีการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยี่ของตนเองเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยคำนึงถึงต้นทุนทางสังคมด้วย

2. นักวิชาการ นักส่งเสริม หรือ นักพัฒนาการเกษตร 2. นักวิชาการ นักส่งเสริม หรือ นักพัฒนาการเกษตร วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี่ที่เหมาะสม ลดการใช้ทรัพยากรที่ฟุ่มเฟือยและเกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยี่ที่มีพื้นฐานจากภูมิปัญญาท้องถิ่น วิจัยและพัฒนาการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดควบคู่กับการอนุรักษ์ วิจัยและพัฒนาระบบเกษตรที่เกื้อกูลกันในระบบนิเวศเช่น ระบบการปลูกพืชผสมผสาน(mixed cropping) ระบบวนเกษตรกรรม(organic farming) เกษตรอินทรีย์(organic farming) วิจัยและพัฒนาเชิงสหวิทยาการ(interdisciplinary)

เกษตรกรและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง การผลิตในทางการเกษตร ( พืช สัตว์ ประมง ป่าไม้) เป็นกิจกรรมที่ผลต่อเนื่องต่อกัน การผลิตใดๆของกิจกรรมหนึ่งจะไปกระทบกับอีกกิจกรรมหนื่ง จากสถานที่หนึ่งไปอีกสถานที่หนึ่งการใช้การผลิตใดๆในอนาคตข้างหน้า มีกฎระเบียบที่ต้องปฏิบัติตามมากขึ้น(WTO)ซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่จะต้องระมัดระวังมากยิ่งขึ้น