บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Advertisements

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
คำอธิบายรายวิชา ระบบธุรกิจ วัฏจักรของการพัฒนาระบบงาน ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังงานระบบ ตารางและการตัดสินใจ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนา.
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผน IT และการพัฒนาระบบขององค์กร
PDCA คืออะไร P D C A.
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
System Development Lift Cycle
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
บทที่ 3 Planning.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
II > วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
การสร้างสื่อ e-Learning
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development) วงจรการพัฒนาระบบ (The System Development Lift Cycle) คือ ขั้นตอนที่ใช้ศึกษาขบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ประกอบด้วย การทำความเข้าใจกับปัญหา การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบ และ จัดทำเอกสาร การทดสอบและบำรุงรักษาระบบ การส่งเสริมและการประเมินผลระบบ

การทำความเข้าใจกับปัญหา ทำความเข้าใจปัญหา โอกาส และ วัตถุประสงค์ของระบบ ทำความเข้าใจปัญหา คือ การทำความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถ่องแท้ว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไร โอกาส คือ ช่องทางหรือสถานะการณ์ที่นักวิเคราะห์เชื่อว่าสามารถปรับปรุงระบบให้ดีขึ้นโดยใช้ระบบสารสนเทศ วัตถุประสงค์ เป็นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ที่ต้องค้นหาว่าธุรกิจต้องการ อะไร เพื่อทำให้เป้าหมายบรรลุวัตถุประสงค์

การรวบรวมข้อมูล (Determining Information Requirements) การรวบรวมข้อมูล คือ ขั้นตอนที่นักวิเคราะห์เก็บข้อมูลจากผู้ใช้ระบบ โดยการตรวจสอบเอกสาร การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถาม หรือสังเกตพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมของธุรกิจ การศึกษาปัญหา และเก็บรวบรวมข้อมูล อาจใช้ผู้ชำนาญงานพิเศษ เรียกว่า Information Analysis (IA) ขั้นตอนนี้นักวิเคราะห์ทราบว่า ใคร (Who) ทำอะไร (What) ที่ไหน (Where) อย่างไร (How)

วิเคราะห์ความต้องการของระบบ Analyzing System Needs การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ นักวิเคราะห์เริ่มจาการศึกษาระบบปัจจุบัน โดยใช้สิ่งต่อไปนี้เป็นเครื่องมือ ผังการไหลข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary : DD) โครงสร้างการตัดสินใจ (Structure Decision) Structure English Decision Table Decision Tree

วิเคราะห์ความต้องการของระบบ Analyzing System Needs การจัดทำข้อเสนอ (System Proposal) สรุปปัญหาที่พบเห็น และ แนวทางแก้ไข เลือกแนวทางในการพัฒนาและวางระบบ ศึกษาถึงความเป็นไปได้ วิเคราะห์กำไร ผลตอบแทน ระยะเวลาคืนทุน ภาพหลังข้อเสนอแนะได้รับการอนุมัติ นักวิเคราะห์ต้องกำหนดระยะเวลาในการพัฒนาในแต่ละขั้นตอน อาจใช้ Gantt Chart หรือ PERT Diagram

การออกแบบระบบ System Design นักวิเคราะห์ทำการออกแบบเชิงตรรกะของระบบ โดยอาศัยของมูลที่รวบรวมไว้ สิ่งที่ต้องออกแบบมี การออกแบบเอาต์พุต (Output Design) การออกแบบอินพุต (Input Design) การออกแบบขบวนการ (Process Design) การออกแบบฐานข้อมูล และ แฟ้มข้อมูล (Database/File Design)

การพัฒนาระบบ และ จัดทำเอกสารประกอบระบบ การพัฒนาระบบ และจัดทำเอกสารประกอบระบบ (Developing and Document the System) นักวิเคราะห์ทำงานร่วมกับโปรแกรมเมอร์ ทำการพัฒนาซอฟต์แวร์ และ เอกสารหรือคู่มือการใช้ระบบ Structure Chart System flow N-S diagram HIPO Warrnier-ORR diagram Flowchart Pseudo code

การทดสอบ และ บำรุงรักษาระบบ การทดสอบ และ บำรุงรักษาระบบ การทดสอบ และ บำรุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System) การติดตั้งระบบเพื่อใช้งานจริงนักวิเคราะห์ต้องทำการ ทดสอบระบบ เพื่อความถูกต้องของระบบ และ เพิ่มความมั่นใจ ความเชื่อถือได้ของระบบใหม่ การทดสอบอาจทำจาก ข้อมูลทดสอบ หรือ ข้อมูลจริง

การส่งเสริม และ การประเมินผลระบบ การส่งเสริม และการประเมินผลระบบ (Implementing and Evaluating the System) นักวิเคราะห์ทำการติดตั้งระบบ ส่งเสริมพนักงานให้เกิดความรู้ ประเมินผลระบบว่าทำงานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

ผลกระทบภายหลัง ดำเนินการะบบใหม่ ภายหลังติดตั้งระบบ การบำรุงรักษาเป็นสิ่งจำเป็น เพราะ ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ แม้จะทดสอบดีเพียงใดก็เกิดข้อผิดพลาดได้ การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ อันเกิดจากความต้องการขององค์กร เมื่อผู้ใช้ระบบคุ้นเคยกับระบบมักต้องการสิ่งอื่นเพิ่มเติม การเจริญเติมโตขององค์กร การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี