ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักการแก้ปัญหา
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น.
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การเขียนโครงการ.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ การประเมินโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ

การประเมิน : ความหมาย การตัดสินคุณค่าให้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (judging the worth or merit of something) The identification, clarification, and application of defensible criteria to determine an evaluation object’s value (worth or merit) in relation to those criteria. การตัดสินคุณค่าให้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามมาตรฐานที่ปรารถนา ทำให้ได้สารสนเทศที่จะนำไปใช้ตัดสินใจดำเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งนั้นให้ดีขึ้น

การตัดสินคุณค่า การลงสรุปว่าสิ่งนั้น ดีหรือไม่ดี ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้ เหมาะหรือไม่เหมาะ ควรหรือไม่ควร พอใจหรือไม่พอใจ มักจะแฝงไว้ด้วยค่านิยมที่ผู้ตัดสินยึดถือ

Evaluation is not to proof, but to improve.

องค์ประกอบของการประเมิน สิ่งที่ต้องการประเมิน (evaluation object) จุดมุ่งหมายของการประเมิน (purpose of evaluation) เกณฑ์ (criteria) มาตรฐาน (standard) ข้อมูล (data) การตัดสินคุณค่า (value judgment) สารสนเทศ (information) การตัดสินใจดำเนินการ (decision making)

สิ่งที่ต้องการประเมิน โครงการ (project or program) ชุดของกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์บางอย่าง

จุดมุ่งหมายของการประเมิน ประเมินไปทำไม? ต้องการสารสนเทศไปตัดสินใจดำเนินการเรื่องอะไร ขยายผล, ยกเลิก, ให้รางวัล, ปรับปรุงพัฒนา, สนับสนุน/คัดค้าน, ฯลฯ

เกณฑ์ (criteria) ลักษณะหรือคุณสมบัติที่ใช้พิจารณาตัดสินคุณค่า

มาตรฐาน (standard) จุด ค่า ระดับ หนึ่งของลักษณะหรือคุณสมบัติ ที่ใช้เป็นหลักเทียบที่จะลงสรุปเพื่อตัดสินคุณค่า Cutoff score, passing score

การตัดสินคุณค่า การนำเอาข้อมูลเกี่ยวกับเกณฑ์มาเปรียบเทียบกับมาตรฐานแล้วลงสรุปว่า ดีหรือไม่ดี ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้ ฯลฯ

สารสนเทศ ผลการสรุปจากการตัดสินคุณค่า ทำให้ทราบว่าสิ่งทีถูกประเมินนั้นมีจุดเด่น จุดด้อยอย่างไร

การตัดสินใจดำเนินการ การเลือกแนวทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อที่จะพัฒนาหรือปรับปรุงสิ่งนั้นให้ดีขึ้น

กระบวนการประเมิน กำหนดสิ่งที่จะประเมินและทำความเข้าใจให้ชัดเจน กำหนดจุดมุ่งหมายของการประเมิน กำหนดเกณฑ์ที่จะใช้พิจารณา กำหนดวิธีการวัดและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกณฑ์ กำหนดมาตรฐานในการตัดสินคุณค่า รวบรวมข้อมูล เปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐานเพื่อลงสรุปตัดสินคุณค่า พิจารณาสารสนเทศจากการตัดสินคุณค่าเพื่อตัดสินใจดำเนินการ

องค์ประกอบของโครงการ หลักการและเหตุผล (Rational) วัตถุประสงค์ (Objective) ผลผลิต/ผลลัพธ์ (output/outcome) ตัวชี้วัด (indicator) ลักษณะการวัด (measure) เป้าหมาย (target) กิจกรรม ทรัพยากร

โครงการศึกษาดูงานการบริหารจัดการสถานศึกษา วัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ 1. เพื่อให้นักศึกษาได้แนวคิดในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. นำนักศึกษาไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๘ เวลา ๗.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. 2. สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นหลังการดูงาน ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๘ ทรัพยากร งบประมาณ.... นักศึกษาได้เห็นกรณีตัวอย่างในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ รายงานของนักศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษาของโรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ การวัด จำนวนรายงานที่แสดงออกถึงประสบการณ์ที่ได้รับอยู่ในระดับดี เป้าหมาย รายงานทุกฉบับ นักศึกษาเกิดแนวคิดในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสามารถนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษาที่ตนเองรับผิดชอบได้

CIPP Model ประเมินเพื่อให้ได้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจพัฒนาและปรับปรุงโครงการ ประกัน/ให้ความมั่นใจว่าโครงการจะประสบผลสำเร็จ มีทั้ง Formative และ Summative Evaluation

output – outcome – impact CIPP Model C- context evaluation เพื่อตัดสินว่าโครงการมีความเหมาะสมกับบริบทหรือไม่ ควรทำหรือไม่ I – input evaluation เพื่อตรวจสอบว่าโครงการมีปัจจัยนำเข้าพร้อมที่จะดำเนินการตามแผนหรือไม่ P – process evaluation เพื่อตรวจสอบว่ากิจกรรมต่างๆ ดำเนินการไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่ P – product evaluation เพื่อตรวจสอบว่าผลของโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ output – outcome – impact