ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ICT & LEARN.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการบริการสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
11.พัฒนาครูด้วยระบบ e-Training 10.พัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินผล เน้นการนำไปใช้ ให้นักเรียนสามารถ Apply สิ่งที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
ADDIE Model.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สื่อการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย อาจารย์ศันสนีย์ จะสุวรรณ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา

สื่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน บทบาทของสื่อการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษา หลักการและแนวคิดของสื่อตามหลักสูตร นโยบายการผลิต พัฒนา และใช้สื่อการเรียนรู้ แนวดำเนินการตามนโยบายฯ

ม. 6 ม. 24 ม. 7 บทบาทของสื่อ ม. 23 ม. 22

หน่วยงาน เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา กระจายอำนาจ ม. 9, ม. 39 หลักสูตรสถานศึกษา ม. 27 หน่วยงาน เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา บทบาทรัฐ ม. 64 , 65 , 66 , 67 , 69

หลักการและแนวคิดของสื่อฯ ตามหลักสูตร เน้นสื่อเพื่อการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ครู/นักเรียนสามารถจัดทำ/พัฒนาขึ้นเอง รูปแบบของสื่อมีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และศักยภาพของผู้เรียน

แนวคิดเกี่ยวกับสื่อการเรียนรู้ รูปแบบ หลากหลาย เครือข่าย การเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี ธรรมชาติ บุคคล กระบวนการ/กิจกรรม ฯลฯ บ้าน โรงเรียน ชุมชน สังคม โลก

ประเภทของสื่อการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ * หนังสือเรียน/ค้นคว้า * คู่มือ * พจนานุกรม * สารานุกรม * ภาพพลิก * แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ สื่อเทคโนโลยี * วีดิทัศน์ * แถบบันทึกเสียง * สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน * ซีดีรอม * อินเทอร์เน็ต ฯลฯ สื่ออื่น ๆ * สื่อบุคคล * สื่อธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม * สื่อกิจกรรม/กระบวนการ * สื่อวัสดุ / เครื่องมือ อุปกรณ์

นโยบายการผลิต พัฒนา และใช้ สื่อการเรียนรู้ นโยบายการผลิต พัฒนา และใช้ สื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตและพัฒนาสื่อทุก ประเภท ทุกสาระการเรียนรู้ และทุกช่วงชั้น ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษามีและใช้สื่อฯ ในกระบวนการเรียนการสอน

แนวดำเนินการตามนโยบายสื่อฯ 1. ด้านการผลิต/พัฒนาสื่อฯ - ใครเป็นผู้ผลิต - ผลิตอะไรได้บ้าง - ผลิตอย่างไร 2. ด้านการประเมินคุณภาพสื่อฯ * ประเมินอะไร * ประเมินอย่างไร * หน่วยงานใดที่รับประเมิน 3. ด้านการเลือกและใช้สื่อฯ ๏ มีแนวปฏิบัติในการเลือกและใช้สื่ออย่างไร

ใครเป็นผู้ผลิต หน่วยงานกลาง/หน่วยงานภาครัฐ เขตพื้นที่/เขตการศึกษา สถานศึกษา เอกชน (บริษัท/สำนักพิมพ์ และบุคคลทั่วไป)

ผลิต ผลิต อะไรบ้าง อย่างไร สื่อฯทุกประเภท ทุกสาระการเรียนรู้ ทุกช่วงชั้น ผลิต อะไรบ้าง 1. ผลิตเป็นช่วงชั้น 2. ผลิตตามเกณฑ์ คุณภาพที่หน่วยงาน กลางกำหนด ผลิต อย่างไร

การประเมินคุณภาพทางวิชาการและราคาจำหน่าย อะไรบ้าง หนังสือเรียน คู่มือครู และ ชุดการเรียนการสอน ประเมินก่อนจัดจำหน่าย (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ) ประเมิน อย่างไร ประเมินหลังจัดจำหน่าย (สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา ศิลปะ และการงานฯ)

หน่วยงานใดที่รับประเมินคุณภาพสื่อฯ แยกหน่วยงานประเมินสื่อฯ 2 ระดับ หน่วยงานกลาง ประเมินสื่อที่ใช้ระดับชาติ (เผยแพร่ทั่วประเทศ) เขตพื้นที่ ประเมินสื่อที่ใช้ในระดับเขตพื้นที่ ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาก่อนใช้ สื่อที่ครูผู้สอนผลิตใช้ในสถานศึกษาของตนเอง

การเลือกและใช้สื่อฯ มีแนวปฏิบัติอย่างไร หนังสือเรียน คู่มือครู ชุดการเรียนการสอน เลือกจากบัญชีรายชื่อสื่อฯ ที่ผ่านการประเมิน การเลือก สื่ออื่น ๆ และสื่อที่ยังไม่ผ่านการประเมิน เลือกโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา สื่อฯ กลุ่มทักษะ (ไทย คณิต อังกฤษ ) ใช้ประจำตัวผู้เรียนได้ การใช้ สื่อฯ กลุ่มอื่น ๆ ไม่ใช้ประจำตัวผู้เรียน ให้จัดไว้ ประจำห้องเรียน/ห้องสมุด/ศูนย์สื่อ

สื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรู้ได้จากสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท เน้นสื่อที่ผู้เรียนและผู้สอนใช้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วย ตนเอง ผู้เรียน ผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นเองหรือนำสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว และในระบบสารสนเทศ มาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณในการเลือกใช้สื่อ และแหล่งความรู้ หนังสือเรียนควรมีเนื้อหาสาระครอบคลุมตลอดช่วงชั้น (ต่อ )

สื่อการเรียนรู้ ควรมีความหลากหลาย (ต่อ ) สื่อสิ่งพิมพ์ควรจัดให้มีอย่างพอเพียง ทั้งนี้ควรให้ผู้เรียนสามารถยืมได้จากศูนย์สื่อ หรือห้องสมุดของสถานศึกษา สื่อการเรียนรู้ ควรมีความหลากหลาย ช่วยส่งเสริมให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณค่า น่าสนใจชวนคิด ชวนติดตามเข้าใจง่าย และรวดเร็วขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการแสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้งและต่อเนื่องตลอดเวลา สวัสดี

สวัสดี