KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประสานงาน.
Advertisements

บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เศรษฐกิจพอเพียง.
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Risk Assessment Lectured by Dr. Siriluck Sutthachai
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
ระบบการผลิต ( Production System )
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
จังหวัดนครปฐม.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การสื่อสารเป็นปัจจัยที่ สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการ พัฒนาสร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้า รวมทั้งการ รักษาความมั่นคงและความ ปลอกภัยของประเทศด้วย ยิ่ง ในปัจจุบัน.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
กลุ่มที่ 1.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
WINTER 01 การบริหารความเสี่ยง ด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศ
โครงสร้างขององค์การ.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
SWOT.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
Change Management.
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 โดย นายกฤติพงษ์ เวชนุเคราะห์ นักวิชาการสรรพสามิตชำนาญการพิเศษ ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2

ความเสี่ยง Risk หมายถึงอะไร ?

ความเสี่ยง Risk หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความ ผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือ เหตุการณ์ ซึ่งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบ ความสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ (Objective) และ เป้าหมาย (Taget) ที่กำหนด

เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องมีการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มีระบบการบริหารที่ดี เพื่อให้มีความชัดเจนและโปร่งใส ช่วยลดผลกระทบซึ่งเกิดขึ้นจากการดำเนินงานที่มีความ ซับซ้อน

แหล่งที่มา หรือ ต้นเหตุแห่งความเสี่ยงมาจากไหน ?

แหล่งที่มา หรือ ต้นเหตุแห่งความเสี่ยง มาจาก ปัจจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก ขององค์กร

องค์กร ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก พฤติกรรมขององค์กร ความรู้ความสามารถของบุคลากร ภายในองค์กร กระบวนการทำงานของมูลสารสนเทศ สภาวะแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี พฤติกรรมผู้บริโภค ภัยธรรมชาติ

ปัจจัยภายนอก ไม่สามารถควบคุมได้ ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยภายใน สามารถควบคุมได้ ปัจจัยภายนอก ไม่สามารถควบคุมได้

ประเภทของความเสี่ยง ประเภทของความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 4 ระดับ 1. ความเสี่ยงระดับองค์กร (Enterprise Risk) 2. ความเสี่ยงระดับหน่วยงาน (Business Risk) 3. ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Functional Risk) 4. ความเสี่ยงในเหตุการณ์ (Event Risk)

ประเภทของความเสี่ยง ระดับที่ 1 ความเสี่ยงระดับองค์กร (Enterprise Risk) เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้การดำเนินงานโดยภาพรวม ขององค์กรไม่บรรลุผล ตามวัตถุประสงค์ เช่น ความผิดพลาด เรื่อง การกำหนดนโยบาย การกำหนดโครงสร้างการจัดการ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี การจัดเก็บรายได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย (ผู้ประกอบการหลีกเลี่ยงการ ชำระภาษี การชำระภาษีไม่ถูกต้อง)

ประเภทของความเสี่ยง ระดับที่ 2 ความเสี่ยงระดับหน่วยงาน (Business Risk) ความเสี่ยงที่จะทำให้การดำเนินงานในแต่ละหน่วยงาน / กลุ่มงาน และ สายงานไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของ หน่วยงาน เช่น ความเสี่ยงจากการบริหารจัดการในกระบวนการทำงาน ต่าง ๆ ที่ไม่มีประสิทธิภาพ อันเกิดจากบุคลากรไม่มี หรือมีไม่เพียงพอ กับปริมาณงาน

ประเภทของความเสี่ยง ระดับที่ 3 ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Functional Risk) ความเสี่ยง ที่เกิดจากปัจจัยภายใน ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ ฝ่ายบริหารการป้องกัน หรือ ลดความเสี่ยง ทำได้โดย จัดให้มีกิจกรรม การควบคุมอย่างเพียงพอและเหมาะสม เช่น - ไม่มีการควบคุมการจัดทำรายงาน ของเจ้าหน้าที่ และไม่จัดส่งรายงาน ภายในกำหนดเวลา - แบบรายงานที่จัดทำขาดการควบคุมและติดตามอย่างใกล้ชิด

ประเภทของความเสี่ยง ระดับที่ 4 ความเสี่ยงในเหตุการณ์ (Event Risk) ความเสี่ยงที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจำแต่เป็นเหตุการณ์พิเศษที่ เกิดขึ้นได้ในทุกระดับขององค์กร ตัวอย่าง... เจ้าหน้าที่ทุจริต

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management )