คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ รูปแบบของคำสั่งทางปกครอง ต้องประกอบด้วย 1. ว.ด.ป.ออกคำสั่ง 2. ชื่อ/ตำแหน่ง/ลายมือชื่อ จนท. ผู้ออกคำสั่ง 3 เหตุผล โดย - ต้องมีข้อเท็จจริง - ข้อกฎหมาย. - ข้อพิจารณา - ข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ
การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง การอุทธรณ์/โต้แย้ง คำสั่งทางปกครอง กรณี - เป็นคำสั่งของ รมว./คณะกรรมการต่างๆ - ให้ฟ้องคดี ต่อศาลปกครอง ภายใน 90 วัน การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั่วไป กรณี - ไม่ใช่เป็นคำสั่งของ รมว./คณะกรรมการต่างๆ - ไม่มี ก.ม.กำหนดขั้นตอน การอุทธรณ์ไว้โดยเฉพาะ
การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั่วไป 1. ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ คือ คู่กรณี 2. รูปแบบของคำอุทธรณ์ - ทำเป็นหนังสือ - ระบุข้อโต้แย้ง ข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมาย ที่อ้างอิง 3. กำหนดเวลาอุทธรณ์ - ยื่นต่อ จนท. ผู้ทำคำสั่งทางปกครอง - ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
(1) จนท. ที่รับอุทธรณ์ จะต้องพิจารณา และแจ้งผล 4. การพิจารณาอุทธรณ์ (1) จนท. ที่รับอุทธรณ์ จะต้องพิจารณา และแจ้งผล ภายใน 30 วัน นับแต่วันรับอุทธรณ์ (2) พิจารณาแล้ว เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ ทั้งหมด หรือบางส่วน ให้เปลี่ยนแปลงคำสั่ง (3) พิจารณาแล้ว ไม่เห็นด้วยทั้งหมด หรือบางส่วน ให้รายงานความเห็นและเหตุผล ต่อ จนท.ระดับสูง
(ก.) พิจารณาคำอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงาน (4) จนท. ระดับสูง (ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4) (ก.) พิจารณาคำอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงาน (ข.) ถ้าไม่เสร็จ ให้ขยายเวลาได้อีก 30 วัน โดย ต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบล่วงหน้า (5) การพิจารณาอุทธรณ์ จนท. มีอำนาจพิจารณา ทบทวนคำสั่ง และอาจเพิกถอน/เปลี่ยนแปลง คำสั่งได้
หน.ส่วนประจำจังหวัด จนท.ในสังกัดตนในจังหวัด จนท.ระดับสูงผู้พิจารณาอุทธรณ์ ผู้ทำคำสั่ง หน.ส่วนประจำจังหวัด จนท.ในสังกัดตนในจังหวัด ผ.ว.จ. หน.ส่วนประจำจังหวัด/ น.อ. ร.ม.ว.มท. ผ.ว.จ. อธิบดี หัวหน้าส่วนระดับกอง/สูงกว่า ปลัดกระทรวง อธิบดี ร.ม.ว. ปลัดกระทรวง
การบังคับทางปกครอง 1. ไม่ใช้กับ จนท.ด้วยกัน เว้นแต่มี ก.ม.กำหนดไว้ 2. อาจใช้บังคับ เพื่อให้ปฏิบัติตาม เพียงเท่าที่จำเป็น โดยให้กระทบกระเทือน น้อยที่สุด 3. มาตรการบังคับทางปกครอง มี 2 ประเภท ก. คำสั่งที่กำหนดให้ชำระเงิน เมื่อถึงกำหนดไม่ชำระ - ทำหนังสือเตือนให้ชำระ ในเวลาไม่น้อยกว่า 7 วัน - ไม่ปฏิบัติตาม ยึด/อายัดทรัพย์สิน ขายทอดตลาด