การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สรุปประเภทของการวิจัย
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
ของการบริหารความเสี่ยง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์ Competency
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขา การบริหารการศึกษา
เพศจำนวน ร้อย ละ ชาย หญิง รวม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
หลักการเขียนโครงการ.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัญหาการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐ การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน

ปัญหาการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐ ตัวแปรไม่ครอบคลุม การวัดตัวแปรที่เป็นนามธรรม ตัวชี้วัดมีไม่เพียงพอ การกำหนดค่าน้ำหนักของตัวชี้วัด เกณฑ์การตัดสิน การวิเคราะห์ไม่ครอบคลุม การประเมินที่ผ่านมาไม่ได้ศึกษาถึงสาเหตุ รูปแบบ (Model) มีไม่เพียงพอและถูกต้องสมบูรณ์

แนวทางในการแก้ปัญหา คือ การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การ เนื่องจากสามารถพัฒนาโดยออกแบบกำหนดให้ครอบคลุม ปัญหาต่าง ๆ ได้

การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพพัฒนา ความรู้ และทักษะด้านอาชีพ องค์การภาครัฐในระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีภารกิจหลัก ได้แก่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาชุมชน และกรมการศึกษานอก โรงเรียน เป็นต้น จากการวิจัย การจัดการศึกษาหรือฝึกอาชีพขององค์การภาครัฐ - มีความสำเร็จในเชิงปริมาณ แต่ไม่สามารถสรุปในเชิงคุณภาพ - ขาดการประเมิน มีเพียงการติดตามผล

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินผลขององค์การภาครัฐ ฯ เพื่อตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นโดยผู้บริหารของ องค์การและผู้บริหารองค์การระดับนโยบาย เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบ โรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นระหว่างตัวแปร ต่าง ๆ กับประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอก ระบบโรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ องค์การภาครัฐที่มีภารกิจหลักในการให้ บริหารด้านการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จำนวน10 องค์การ ภารกิจที่ประเมิน ได้แก่ การฝึกอาชีพนอกระบบโรงเรียนซึ่งเน้น การฝึกอาชีพระยะสั้น สาขาช่วงอุตสาหกรรม

3. รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น 3.1 ตัวแปรต้น จำนวน 8 ตัวแปร - ระดับตัวองค์การ ได้แก่ ภาวะผู้นำองค์การ นโยบาย การบริหาร องค์การ และกระบวนการบริหารองค์การ - ระดับกลุ่ม ได้แก่ ภาวะผู้นำกลุ่ม วัฒนธรรมกลุ่ม กระบวนการ บริหารกลุ่ม - ระดับบุคคล ได้แก่ คุณลักษณะของบุคลากร และการปฏิบัติงาน ของบุคลากร

3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลองค์การ การบรรลุจุดมุ่งหมายตามภารกิจ ประสิทธิภาพ ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง ความพึงพอใจ

สรุปผลการวิจัย การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การฯ ผลการพิจารณาของผู้บริหารเพื่อกำหนดค่าน้ำหนักของตัว แปรตามทั้ง 4 ตัว โดยเฉลี่ย ดังนี้ 1.1 การบรรลุจุดมุ่งหมาย 35% 1.2 ประสิทธิภาพ 15% 1.3 ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง 20% 1.4 ความพึงพอใจ 30%

2. ผลการประเมินประสิทธิผลองค์การพบว่า 1. กรมอาชีวศึกษา มีประสิทธิผลองค์การในระดับน้อย ( X = 49.0) มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 9 ตัวชี้วัด และไม่ ผ่านเกณฑ์ 6 ตัวชี้วัด ( X = 56.6 ) 2. สำนักพัฒนาชุมชน กรุงเทพมหานคร มีประสิทธิผลองค์การ ในระดับปานกลาง มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 7 ตัวชี้วัด และไม่ผ่านเกณฑ์ 8 ตัวชี้วัด