พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

วิสัยทัศน์ชมรมวิสัญญีพยาบาล แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัยตามเกณฑ์ ของ สกว. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ผลการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2551 สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.

โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้

กลุ่มบุคลากร เป้าหมายหลัก - อาจารย์ที่มี ผลงานวิจัยต่อเนื่อง - อาจารย์ที่ไม่ชำนาญ ในการทำวิจัย - แพทย์ใช้ทุน / แพทย์ประจำบ้าน

กล ยุทธ์ 1 สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยที่มี คุณภาพและตอบสนองปัญหา ของประเทศ ( โดยเฉพาะ ภาคใต้ )

กล ยุทธ์ 2 สร้างและขยายความร่วมมือของ เครือข่ายวิจัยระหว่างหน่วยงาน ทั้งในและต่างสถาบันและ ทั้งใน ระดับประเทศและต่างประเทศ

กล ยุทธ์ 3 สนับสนุนให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อ ระดับปริญญาเอก หรือ Research fellow เพื่อสร้าง งานวิจัยที่มีคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง

กลยุทธ์ 1 สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพและ ตอบสนองปัญหาของประเทศ ( โดยเฉพาะ ภาคใต้ ) มาตรการ - ผลักดันหน่วยสนับสนุนงานวิจัย อายุรศาสตร์ ( สวอ.) - สนับสนุนเชิงรุก - หาแหล่งทุน - กำหนดกรอบเวลาของงานวิจัย - ส่งเสริมให้ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ - ส่งเสริมให้ผลการวิจัยแก้ปัญหาของ ผู้ป่วยได้โดยตรง

ตัวบ่งชี้ - อาจารย์มีผลงานวิจัยตีพิมพ์อย่างน้อย 0.5 เรื่อง / คน / ปี - อาจารย์กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการ ช่วยเหลือจัดทำผลงานวิจัยตีพิมพ์ ได้ สำเร็จอย่างน้อย 80% - กรอบเวลาของงานวิจัย พชท./ พจบ ตรง ตามเป้าหมายอย่างน้อย 80% - ผลงานวิจัยของ พชท / พจบ หรืออาจารย์ ที่ควบคุมได้รับการตีพิมพ์อย่างน้อย 50 % หลังจากผลงานเสร็จสิ้นแล้วภายใน 2 ปี - มีกิจกรรมส่งเสริมการทำวิจัยอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง - มีบอร์ดวิจัยที่เป็นประโยชน์และปรับปรุง ทุก 2 -4 สัปดาห์

กลยุทธ์ 2 สร้างและขยายความร่วมมือของเครือข่าย วิจัยระหว่างหน่วยงานทั้งในและต่าง สถาบัน ทั้งในระดับประเทศและ ต่างประเทศ มาตรการ - ผลักดันให้มีการติดต่อสื่อสารวิจัย ระหว่าง หน่วยงาน / สถาบัน - สนับสนุนให้มีการทำวิจัยร่วมกับ ต่างประเทศ

ตัวบ่งชี้ - อาจารย์มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในลักษณะ multicenter 1 เรื่อง / ปี / ภาควิชา - มีจุลสารสงขลานครินทร์อายุรศาสตร์ (e- journal) ปีละ 2 เล่ม

กลยุทธ์ 3 สนับสนุนให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอก หรือ Research fellow เพื่อสร้างงานวิจัยที่มี คุณภาพอย่างต่อเนื่อง มาตรการ - ประชาสัมพันธ์แหล่งทุน - มี ระบบอาจารย์พี่เลี้ยง (mentoring system) - ผลักดันให้อาจารย์มีแผนการวิจัยที่จะไป ศึกษาพร้อมล่วงหน้าก่อน การเดินทาง

ตัวบ่งชี้ - จำนวนอาจารย์ที่ไปศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอกเท่ากับ 2.5 % / 4 ปี ( ประมาณ 1 คน ทุก 4 ปี ) - จำนวนอาจารย์ที่ไปศึกษาต่อระดับ Research Fellow เท่ากับ 10 % / 4 ปี ( ประมาณ 1 คน ต่อ ปี )

กลุ่มบุคลากร เป้าหมายหลัก - อาจารย์ที่มี ผลงานวิจัยต่อเนื่อง - อาจารย์ที่ไม่ชำนาญ ในการทำวิจัย - แพทย์ใช้ทุน / แพทย์ประจำบ้าน