พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
กลุ่มบุคลากร เป้าหมายหลัก - อาจารย์ที่มี ผลงานวิจัยต่อเนื่อง - อาจารย์ที่ไม่ชำนาญ ในการทำวิจัย - แพทย์ใช้ทุน / แพทย์ประจำบ้าน
กล ยุทธ์ 1 สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยที่มี คุณภาพและตอบสนองปัญหา ของประเทศ ( โดยเฉพาะ ภาคใต้ )
กล ยุทธ์ 2 สร้างและขยายความร่วมมือของ เครือข่ายวิจัยระหว่างหน่วยงาน ทั้งในและต่างสถาบันและ ทั้งใน ระดับประเทศและต่างประเทศ
กล ยุทธ์ 3 สนับสนุนให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อ ระดับปริญญาเอก หรือ Research fellow เพื่อสร้าง งานวิจัยที่มีคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง
กลยุทธ์ 1 สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพและ ตอบสนองปัญหาของประเทศ ( โดยเฉพาะ ภาคใต้ ) มาตรการ - ผลักดันหน่วยสนับสนุนงานวิจัย อายุรศาสตร์ ( สวอ.) - สนับสนุนเชิงรุก - หาแหล่งทุน - กำหนดกรอบเวลาของงานวิจัย - ส่งเสริมให้ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ - ส่งเสริมให้ผลการวิจัยแก้ปัญหาของ ผู้ป่วยได้โดยตรง
ตัวบ่งชี้ - อาจารย์มีผลงานวิจัยตีพิมพ์อย่างน้อย 0.5 เรื่อง / คน / ปี - อาจารย์กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการ ช่วยเหลือจัดทำผลงานวิจัยตีพิมพ์ ได้ สำเร็จอย่างน้อย 80% - กรอบเวลาของงานวิจัย พชท./ พจบ ตรง ตามเป้าหมายอย่างน้อย 80% - ผลงานวิจัยของ พชท / พจบ หรืออาจารย์ ที่ควบคุมได้รับการตีพิมพ์อย่างน้อย 50 % หลังจากผลงานเสร็จสิ้นแล้วภายใน 2 ปี - มีกิจกรรมส่งเสริมการทำวิจัยอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง - มีบอร์ดวิจัยที่เป็นประโยชน์และปรับปรุง ทุก 2 -4 สัปดาห์
กลยุทธ์ 2 สร้างและขยายความร่วมมือของเครือข่าย วิจัยระหว่างหน่วยงานทั้งในและต่าง สถาบัน ทั้งในระดับประเทศและ ต่างประเทศ มาตรการ - ผลักดันให้มีการติดต่อสื่อสารวิจัย ระหว่าง หน่วยงาน / สถาบัน - สนับสนุนให้มีการทำวิจัยร่วมกับ ต่างประเทศ
ตัวบ่งชี้ - อาจารย์มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในลักษณะ multicenter 1 เรื่อง / ปี / ภาควิชา - มีจุลสารสงขลานครินทร์อายุรศาสตร์ (e- journal) ปีละ 2 เล่ม
กลยุทธ์ 3 สนับสนุนให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอก หรือ Research fellow เพื่อสร้างงานวิจัยที่มี คุณภาพอย่างต่อเนื่อง มาตรการ - ประชาสัมพันธ์แหล่งทุน - มี ระบบอาจารย์พี่เลี้ยง (mentoring system) - ผลักดันให้อาจารย์มีแผนการวิจัยที่จะไป ศึกษาพร้อมล่วงหน้าก่อน การเดินทาง
ตัวบ่งชี้ - จำนวนอาจารย์ที่ไปศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอกเท่ากับ 2.5 % / 4 ปี ( ประมาณ 1 คน ทุก 4 ปี ) - จำนวนอาจารย์ที่ไปศึกษาต่อระดับ Research Fellow เท่ากับ 10 % / 4 ปี ( ประมาณ 1 คน ต่อ ปี )
กลุ่มบุคลากร เป้าหมายหลัก - อาจารย์ที่มี ผลงานวิจัยต่อเนื่อง - อาจารย์ที่ไม่ชำนาญ ในการทำวิจัย - แพทย์ใช้ทุน / แพทย์ประจำบ้าน