การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
ผลงานตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ ปีงบประมาณ (n= 28) 2550 (n=27) 2551 (n=33) 2552 (n=36) 2553 (n=36) Inte r Nati on Inte r Nati on Inte r Nati on Inte r Nati on Inte r Nati on
คุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว. ภาพรวมของคณะแพทยศาสตร์ ภาพรวมของคณะแพทยศาสตร์ ภาพรวมภาควิชาศัลยศาสตร์ ได้รับ การประเมิน ที่ระดับ
การ วิเคราะห์ คุณภาพงานวิจัยของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ Limitat ion
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัย ภาควิชาศัลยศาสตร์ 5 ปี Work Load บริการ 40-50% การเรียน การสอน 30-40% วิจัย 10-20% อื่น ๆ 0-10%
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ศัลยศาสตร์ 5 ปี Reward ให้เงินสนับสนุนค่าตีพิมพ์ในส่วนที่เกินจาก มหาวิทยาลัยให้การสนับสนุน ข้อดี มีแรงจูงใจในการตีพิมพ์วารสาร ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ข้อจำกัด ต้องขอมติจากที่ประชุมภาควิชาฯ
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ศัลยศาสตร์ 5 ปี Direction งานวิจัยที่ภาควิชาสนับสนุน ให้ทำมากขึ้น Bio-engineer Basic Science Molecular Oncology Key Research area
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ศัลยศาสตร์ 5 ปี Publication ใช้เกณฑ์ตามมหาวิทยาลัย 0.5 เรื่อง ต่อคนต่อปี =18 เรื่อง ใช้เกณฑ์ตามสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ ( สกว.) เน้น High Impact factor กระตุ้นงานตีพิมพ์ของแพทย์ใช้ทุน เพิ่มมากขึ้น
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ศัลยศาสตร์ 5 ปี Organization ขอความสนับสนุนจาก คณะแพทยศาสตร์ Contact Research Organization Grant สำหรับผู้มีตำแหน่งทางวิชาการ เพื่อการพัฒนางานวิจัย
สรุปแนวทางการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ศัลยศาสตร์ 5 ปี Example 1. Detection of colorectal cancer micrometastasis in regional lymph node by a molecular biology method 2. Prognostic factors determine patient with triple-negative breast cancer in songklanagarind hospital (Second price award) 3. Mutation of k-ras gene in colorectal cancer patients in southern Thailand
ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้วัดของสกว. ตัวชี้วัดที่ 1 แสดงถึงความสามารถของอาจารย์ในการผลิต ผลงานวิจัยตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนานาชาติ โดยวัด จำนวนบทความต่ออาจารย์ 1 ท่าน ( บทความแต่ละ ประเภทมีน้ำหนักแตกต่างกัน ) / วัดสัดส่วนปริมาณงาน ( หารด้วยจำนวนคน ) ตัวชี้วัดที่ 2 แสดงถึงความสามารถของอาจารย์ในการผลิต ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง โดยวัดค่า impact factor ต่ออาจารย์ 1 ท่าน
ตัวชี้วัดที่ 3 แสดงถึงความสามารถของสาขาวิชาในการผลิต ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบกับวารสารระดับ นานาชาติ ตัวชี้วัดที่ 4 แสดงถึงความสามารถของสาขาวิชาการในการ ผลิตผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติที่มี คุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิงโดยวัดค่าจาก IF
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผล งานวิจัย 1. ข้อมูลวารสาร 1.1 ค่า Impact Factor ของวารสาร 1.2 ประเภทของวารสาร และ ค่าน้ำหนัก ของวารสาร 2. ข้อมูลผู้แต่ง 2.1 จำนวนผู้แต่งทั้งหมด 2.2 จำนวนผู้แต่งในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ แยกตามภาควิชา
ประเภทของวารสารค่าน้ำหนัก วารสารนานาชาติในฐานข้อมูล ISI * 1 วารสารนานาชาตินอกฐานข้อมูล ISI ** 0.75 วารสารระดับชาติ 0.5 วารสารระดับสถาบันหรือ IF > 0.01 *** 0.25 วารสารระดับสถาบันที่มี IF < * วารสารในฐาน Web of Science ** วารสารในฐาน PubMed, Scopus, อื่นๆ *** วารสารภาษาไทยระดับอื่นๆ
1. วารสารนานาชาติในฐาน ISI (Web of Science) 1.1 ค้นจากรายชื่อวารสารใน Journal Impact Factor 1.2 ค้นจากรายชื่อวารสารใน Web of Science 1.3 รายชื่อวารสารไทยที่ปรากฏ ในฐานข้อมูล ISI-WOS
2. วารสารนานาชาตินอกฐาน ISI 2.1 วารสารต่างประเทศอยู่ใน ฐานข้อมูลสากลอื่นๆ 2.2 วารสารไทยที่จัดเป็น วารสารวิชาการระดับนานาชาติ และ / หรือ ปรากฏในฐานข้อมูล สากล ext/thai.htm 2.3 บัญชีรายชื่อวารสารระดับ นานาชาติ
3. วารสารระดับชาติ บัญชีรายชื่อวารสารระดับชาติของไทย ml/T-JIF.html ml/T-JIF.html วารสารระดับสถาบัน 4. วารสารระดับสถาบัน หรือ IF > วารสารระดับสถาบันที่มี IF < 0.01
ตัวอย่าง ชื่อวารสารประเภทค่าน้ำหนัก IF Arch Surg Asian Cardiovascular and Thoracic Annals Asian Pac J Cancer Prev110 J Med Assoc Thai J Infect Dis J Vasc Surg Metabolism Southeast Asian J Trop Med Public Health สงขลานครินทร์เวชสาร