2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
Co-operative education
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นโยบาย สพฐ. ปี
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ผลการ ดำเนินการด้าน การเรียนการ สอน. 1. การสรรหานักศึกษาที่มีคุณภาพดีเข้า คณะใด้มากขึ้น การลดจำนวนรับนักศึกษา ลงประมาณ 150 คน รับนักศึกษา 17 ช่องทาง คณะกรรมการดำเนินการประชาสัมพันธ์การรับ.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
 ความเคลื่อนไหวกระแสโลก  การเปิดเสรีการค้า การ ลงทุน  การเคลื่อนย้ายเงินทุนโดย เสรี  การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ โดยเสรี  การศึกษาข้ามพรมแดน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

 

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการกับ ASEAN

นโยบายที่ 1 การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารและเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 

นโยบายที่ 2  การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะสม เพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะและความชำนาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางานทำของประชาชนรวมทั้งการพิจารณาแผนผลิตกำลังคน 

นโยบายที่ 3  การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษา ครู และอาจารย์ในอาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับในคุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนาระบบการศึกษาทางไกล

ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมทางอาชีพทั้งในขั้นต้นและขั้นต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกของอาเซียน 

นโยบายที่ 4  การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน เพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการศึกษา การพัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพสำคัญต่าง ๆ เพื่อรองรับการเปิดเสรีการศึกษาควบคู่กับการเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน 

นโยบายที่ 5  การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรสำคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

 

ระดับอาชีวศึกษา

1. พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ให้สอดคล้องกับคุณวุฒิวิชาชีพอาเซียน เพื่อรองรับการเคลื่อนตัวของแรงงานฝีมือ 2. พัฒนาขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษให้นักศึกษาอาชีวะ 3. เตรียมการเปิดหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตร 2 ภาษา (English Program) เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

ระดับอุดมศึกษา

1. องค์กรระหว่างประเทศ - AUN (ASEAN University Network) ซึ่งประเทศไทยเป็นสํานักงานเลขาธิการ - SEAMEO RIHED โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและการถ่ายโอนหน่วยกิต - SEAMEO SPAFA แลกเปลี่ยนด้านโบราณคดีและศิลปวัฒนธรรม

2. มหาวิทยาลัยจัดตั้งศูนย์เกี่ยวกับ ASEAN อาทิ - มหาวิทยาลัยธรกิจบัณฑิตย์ เปิดศูนย์เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดศูนย์อาเซียนศึกษา

- มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี เปิดศูนย์การศึกษาเพื่อประชาคมอาเซียนร่วมมือกับโรงเรียนและร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน - มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน

ผลการศึกษาและข้อสังเกต ของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณา และติดตามความพร้อมด้านการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน วุฒิสภา

1. การดําเนินงานที่ผ่านมามีโครงการที่ดีหลายโครงการ แต่ยังมีไม่เพียงพอและไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ การตื่นตัวของมหาวิทยาลัยต่างๆ ยังจํากัด 2. ในการเตรียมความพร้อมทางด้านภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ ขาดแคลนครูที่มีความรู้และความสามารถ

3. การเปิดภาคการศึกษาของประเทศไทย มีความแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ในอาเซียน จะส่งผลต่อกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักเรียนและนักศึกษาหรือการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย 4. หน่วยงานของรัฐได้มีการจัดทําแผนการดําเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อมต่างๆ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน แต่มีข้อสังเกตว่า การนําไปสู่การปฏิบัติยังมีน้อย สาเหตุส่วนหนึ่งเป็นเพราะขาดงบประมาณในการดําเนินงาน

5. ขาดการทํางานแบบบูรณาการ ทั้งในระดับกระทรวง กรม และสํานักต่าง ๆ ยังมีการดําเนินงานในลักษณะต่างคนต่างทํา ขาดความร่วมมือ 6. การรับรู้ของประชาชนในระดับต่างๆ ยังอยู่ในวงจํากัด โดยเฉพาะประชาชนที่อาศัย อยู่ในต่างจังหวัด เนื่องจากสื่อประชาสัมพันธ์ของรัฐที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่ทั่วถึงและครอบคลุม

7. ประชาชนของประเทศไทยยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เช่น คนไทยไม่สนใจเรียนรู้และไม่นิยมที่จะศึกษาต่อในประเทศกลุ่มสมาชิก เนื่องจากมีทัศนคติว่า หลายๆ ประเทศในกลุ่มอาเซียนเป็นประเทศที่มีความเจริญน้อยกว่าประเทศไทย 8. ให้ความสําคัญต่อเสาเศรษฐกิจของอาเซียนมากกว่าเสาประชาคมการเมืองและความมั่นคง