ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
วามเป็นมา ค ประเทศมีความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความตกลงทางการค้า ทั้งระดับภูมิภาค ทวิภาคี รายสินค้า และการเงิน นโยบายปัจจุบันเหมือนจะขยายความสัมพันธ์ลักษณะนี้มากขึ้น การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีประโยชน์ที่จะสร้างความแข็งแกร่ง ในการแข่งขันระหว่างประเทศ การเจรจาการค้า และสร้างภูมิคุ้มกัน แต่ทรัพยากรย่อมมีจำกัด การเจรจาการค้าย่อมมีต้นทุน และประโยชน์จากการเจรจาในแต่ละเวทีย่อมแตกต่างกัน เราจึงควรมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการเจรจาในแต่ละเวที
ทความประกอบการประชุม 1. การค้า การลงทุนและการแข่งขันระหว่างประเทศ อภิชาติ พงษ์ศิริรัชกุล, ดวงฤดี ศิริเสถียร และ อรอนุช ผดุงวิถี 2. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และการกำหนด ยุทธศาสตร์ของประเทศไทย ฝ่ายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ทีดีอาร์ไอ และศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และการพัฒนา นิด้า
ทความประกอบการประชุม (2) 3. การรวมกลุ่มประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตร: กรณีศึกษาเรื่องยางพาราและข้าวของไทย วิโรจน์ ณ ระนอง และ ศรชัย เตรียมวรกุล 4. ความร่วมมือทางด้านการเงินในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก: การประเมินเหตุผลเบื้องหลังความร่วมมือ ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์
การนำเสนอในกลุ่มที่สอง ทิศทางการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และการกำหนดยุทธศาสตร์ สถานภาพการค้าและการแข่งขันระหว่างประเทศของไทย --การแข่งขันเข้มข้น โดยเฉพาะจากจีน สรุปสถานภาพและความคาดหวังของการเจรจาหรือความ ตกลงทางการค้าในเวทีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย กรอบความคิดที่จะสร้างประโยชน์จากการรวมกลุ่ม และ ลดต้นทุน ประเทศไทยควรมีจุดยืนอย่างไรในแต่ละเวที
การนำเสนอกลุ่มที่สอง (2) ความตกลงรายสินค้า ... กรณีศึกษาสินค้าเกษตร คือ ข้าว ยางพารา สรุปความตกลงที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย บทเรียนในอดีตชี้ว่ามาตรการในปัจจุบันจะได้ผลหรือไม่ได้ผลอย่างไร
ประเด็นการอภิปรายระดมความคิด มองภาพรวมการเจรจาพหุภาคี ภูมิภาค ทวิภาคี ความสมดุลที่จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับประเทศไทยควรเป็นอย่างไร ลำดับความสำคัญของความตกลงภูมิภาค ทวิภาคีที่สอดคล้องกับนโยบายการค้าของไทยควรเป็นอย่างไร กรอบกระบวนการเจรจาที่จะมีต้นทุนน้อย ประโยชน์มากเป็นอย่างไร
ประเด็นการอภิปรายระดมความคิด (2) ความตกลงทางการค้ามีความเสี่ยงที่ต้องตระหนักอย่างไร ความตกลงรายสินค้า จะเป็นประโยชน์ได้เพียงใด เงื่อนไขสำคัญในการดำเนินการให้เป็นประโยชน์ สูงสุดเป็นอย่างไร