เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบบัตรประจำตัวประชาชน โครงการขยายการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแบบใหม่
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
ยืมระหว่างห้องสมุด Book Delivery
KM การจัดการความรู้ผู้เกษียณ
การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
Checker คุณภาพทำได้อย่างไร
ใช้บริการ Request Copy สิคะ
1. ค้นหาหนังสือที่ต้องการจอง โดยพิมพ์ชื่อเรื่อง 2. คลิกไอคอน ค้นหา.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
บริการต่ออายุและจองหนังสือ ด้วยตนเองผ่านอินเตอร์เน็ท
การบริหารงานของห้องสมุด
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
Status-สถานภาพทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด
ระบบตรวจข้อสอบ. ระบบตรวจข้อสอบ วิเคราะห์ข้อสอบ สามารถนำผลที่ได้จากเครื่องตรวจข้อสอบเข้าสู่ระบบได้ทันที รวดเร็ว ขั้นตอนการทำงานที่ง่ายดาย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน.
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Patron Info Application
Label Maker 1.1 โปรแกรม Label Maker เป็นโปรแกรมเล็ก ๆ ซึ่งเกิดการความร่วมมือระหว่างบรรณารักษ์และพนักงานด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมกันหาวิธีที่จะปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในงานประจำวัน.
Patron Info Application
ก ารพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ Development to excellence of Technical information division working group.
ภารกิจของเจ้าหน้าที่ศูนย์ภาคและ เจ้าหน้าที่สำนักทะเบียนที่ปฎิบัติ งาน ร่วมกัน ณ สำนักทะเบียนก่อนการเปิด ให้บริการ 1. Set Emp ผู้ที่ทำหน้าที่เปิด - ปิดระบบ.
ระบบเช่าหนังสือ รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
ฐานข้อมูล Science Direct
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
การนำการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ในงานห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
น.ส.วีรยาภรณ์ รัตนไพบูลย์ sc18c
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
TU Library Catalog.
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
TU Thammasat University Libraries. TULib app ชุดโปรแกรมที่รวมบริการต่างๆ ของห้องสมุด ได้แก่ Find Books My summary Alerts Learning Virtual Library.
การทำบัตรสมาชิกห้องสมุด
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
Request copy. วิธีการจองหนังสือ การจองหนังสือผ่านระบบ Library Catalog (HIP) สามารถ จองได้เฉพาะหนังสือที่มี Location เป็นของห้องสมุดที่ผู้ใช้ กำลังใช้หน้าจอการสืบค้นอยู่
Effective Filling System
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
Borrower Information. จากหน้าจอการสืบค้น คลิกที่ Borrower Info. ใส่เลขบาร์โค้ดบนบัตรประจำตัว 11 หลัก ลงในช่อง Borrower Barcode: คลิก Login เพื่อเข้าสู่ระบบ.
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
โดย กิตติพร ศรีเพ็ชร โทรศัพท์ 3335.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self check : เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self check : เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Hybrid Self check เป็นเครื่องยืมคืนหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเองระบบการทำงานใช้เทคโนโลยีคลื่นวิทยุ (RFID) ร่วมกับระบบป้องกันหนังสือสูญหายแบบแถบแม่เหล็ก ( EM System ) ออกแบบการใช้งานเพื่อความสะดวกรวดเร็วแก่ผู้ใช้บริการ และห้องสมุดยุคใหม่เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

เครื่องอ่านลายนิ้วมือ เครื่องอ่านบาร์ดโค้ด ส่วนประกอบ Self Check กล้องบันทึกภาพ (Camera) หน้าจอ แบบสัมผัส (Touch Screen Monitor) เครื่องอ่านลายนิ้วมือ (Finger Scan) เครื่องอ่านบาร์ดโค้ด (Barcode Scanner) เครื่องพิมพ์สลิป (Slip Printer) แท่นวางหนังสือ

Hybrid Self check : เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง คุณสมบัติและการทำงานของระบบที่สะดวกแก่ผู้ใช้บริการ ตัวเครื่องสามารถทำรายการยืม รายการคืนได้ภายในเครื่องเดียวกัน หน้าจอการใช้งานเป็นแบบสัมผัส ( Touch Screen ) ขั้นตอนการใช้งานง่าย ประหยัดเวลาในการใช้บริการ มีใบบันทึกรายการ ( Slip Printer ) พิมพ์รายการไว้เพื่อผู้ใช้บริการสามารถเก็บไว้เป็นหลักฐาน ระบบสามารถแสดงรายการ เช่น ค่าปรับ จำนวนสิทธิ์ในการยืม บนหน้าจอเพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบขณะทำรายการ We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

กระบวนการยืมทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี Self Check สืบค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ เดินไปหยิบตัวเล่มหนังสือที่ชั้นหนังสือ ข้อมูลการยืมจะถูกบันทึกลงฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดทันที ยืม-คืนหนังสือด้วยตนเองที่ เครื่อง Self Check ระบบปิดสัญญาณกันขโมย เครื่องจะพิมพ์ใบสลิปรายการแสดงรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่ยืม และกำหนดส่งคืน ออกจากห้องสมุดโดยผ่านประตูเข้า-ออกห้องสมุดที่ติดเครื่องตรวจจับสัญญาณกันขโมย

กระบวนการคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี Self Check เตรียมหนังสือที่ต้องการคืน ข้อมูลการคืนจะถูกบันทึกลงฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดทันที ยืม-คืนหนังสือด้วยตนเองที่ เครื่อง Self Check ระบบเปิดสัญญาณกันขโมย เครื่องจะพิมพ์ใบสลิปรายการแสดงรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่คือ และวันที่คืน นำหนังสือหย่อนลงตู้คืนหนังสือ Book Drop ที่ตั้งอยู่ข้างๆ Self Check ออกจากห้องสมุดโดยผ่านประตูเข้า-ออกห้องสมุดที่ติดเครื่องตรวจจับสัญญาณกันขโมย

ข้อดีของระบบ RFID การนำระบบ RFID เข้ามาใช้ในห้องสมุดช่วยทำให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ห้องสมุดหรือบรรณารักษ์มีประสิทธิภาพมากขึ้นและก่อให้เกิดความสะดวกในการ ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการดังนี้คือ 1. ช่วยลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการใช้บริการยืมคืน 2. ทำให้การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายยิ่งขึ้น 3. ช่วยป้องกันการสูญหายและการขโมยทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด 4. ลดปัญหาการรอคิวใช้บริการในช่วงที่มีผู้ใช้บริการยืมคืนในห้องสมุดจำนวนมาก We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self Check We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self Check We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self Check We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self Check We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

Hybrid Self Check We Create WISE RFID Solutions Technology WISERF (Thailand) Co., Ltd.

e-mail, msn : wulibrary@hotmail.com Website : http://clm.wu.ac.th Thank you Contact us Tel. 075-673319, 075-673335 e-mail, msn : wulibrary@hotmail.com Website : http://clm.wu.ac.th